5 - 15 of 281 Articles

ค่าแรงขั้นต่ำเป็น 450 บาท กับอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, บทความ ขึ้นค่าจ้างแรงงานในอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, อุตสาหกรรมไฟฟ้า, อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์, EEI, บทความ สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

ผลกระทบของค่าจ้างขั้นต่ำ 450 บาท ต่ออุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ไทย

สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (EEI) วิเคราะห์ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ไทย หากมีการขึ้นค่าจ้างของแรงงานในอุตสาหกรรมดังกล่าว จากค่าจ้างเริ่มต้นปัจจุบัน 341 บาทต่อวัน เป็น 450 บาทต่อวัน

นายรังสิมันต์ สมพรนิมิตกุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท เพรสซิชั่น ทูลลิ่ง เซอร์วิส จำกัด, Rungsimun Somponnimitkul, PTSC, นโยบาย 30@30, รถยนต์ไฟฟ้า

เร่งเครื่องนโยบาย 30@30 หันมอง ‘ผู้ผลิตชิ้นส่วนไทย’ โดนกระทบ

ประเทศไทยกำลังเร่งเครื่องนโยบาย 30@30 โดยตั้งเป้าผลิตรถยนต์ที่ปล่อยมลพิษเป็นศูนย์ (ZEV) ให้ได้อย่างน้อย 30% ของการผลิตยานยนต์ทั้งหมดในปี 2030 เล็งขึ้นฮับผลิตอีวีแห่งอาเซียน

ค่าแรงขั้นต่ำ 450 บาท, ทางเลือก-ทางรอดประเทศไทย, Prawit Wonganakit, Siam Anankit, ประวิทย์ วงศ์อนันต์กิจ, สยามอนันต์กิจ, Flow Waterjet Thailand

“ค่าแรงขั้นต่ำ 450 บาท” ทางเลือก-ทางรอดประเทศไทย?

การปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 450 บาท อาจจะเป็น “ทางรอด” ที่ถูกคาดหวังเพื่อช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตแรงงาน แต่ในมุมผู้ประกอบการอาจจะมองหา “ทางเลือก” ในการปรับเปลี่ยนแผนดำเนินงาน

Digital transformation ผ่านมุมมองผู้ประกอบการไทย ,Pavinee Suwanmaethanon, SP intermatch, ภาวินี สุวรรณเมธานนท์, เอสพี อินเตอร์แมค จำกัด

“Digital Transformation” ผ่านมุมมองผู้ประกอบการไทย

Digital Transformation พลวัตแห่งนวัตกรรมในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ทั้งด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และสังคม ที่ผู้ประกอบการต้องปรับตัวและต้องลงทุน

Robotics, Welding, Smart factory 4.0

“การเชื่อมด้วยหุ่นยนต์” ในอุตสาหกรรมการผลิต 4.0

การเชื่อมด้วยหุ่นยนต์ช่วยเพิ่มผลผลิต คุณภาพ และความปลอดภัย ช่วยให้ผู้ผลิตเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการเชื่อม ลดเวลาหยุดทำงาน และปรับปรุงประสิทธิภาพโดยรวม ตอบสนองต่ออุตสาหกรรมการผลิต 4.0

 ค่าแรงขั้นต่ำ 450 บาท ความเห็นของผู้ประกอบการไทย, Surapong Tangtaratorn, Factory Max, สุรพงศ์ ตั้งธราธร, แฟ็คทอรี่ แม็กซ์

หาก “ค่าแรงขั้นต่ำ 450 บาท” ผู้ประกอบการคิดอย่างไร

“การปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 450 บาท” ถูกหยิบยกเป็นประเด็นร้อนแรงในช่วงที่ผ่านมา ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมมีความเห็นต่อเรื่องนี้อย่างไร

China, Supply Chain, Trade War, Manufacturing

เพราะเหตุใด “การย้ายฐานการผลิตออกจากจีน” จึงเป็นเรื่องยาก?

การย้ายการผลิตออกจากจีนถูกหยิบยกมาพูดถึงอย่างต่อเนื่อง แต่สิ่งที่เกิดขึ้นในปี 2022 พบว่าการค้าระหว่างจีนและสหรัฐฯ แตะระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์ เพราะเหตุใด หาคำตอบในบทความนี้

อาชีพอะไรบ้าง ที่ AI ทำแทนไม่ได้?

AI จะเข้ามาทดแทนอาชีพเหล่านี้ได้จริงหรือ?

งานที่ AI ทำแทนไม่ได้คืองานที่ต้องใช้ทักษะของมนุษย์ WEF ระบุ 3 อันดับอาชีพจ้างงานสูงสุดใน 5 ปีข้างหน้า คาดว่าจะเป็นของผู้ควบคุมอุปกรณ์การเกษตร คนขับรถบรรทุกหนักและรถโดยสารประจำทาง และครูอาชีวศึกษา

Digital Twin, Smart Factory, Sustainability

จุดประเด็น Digital Twin เป็นมากกว่าเครื่องมือสร้างผลิตภาพ แต่ยังสร้างความยั่งยืนอีกด้วย

WEF จุดประเด็น Digital Twin เป็นมากกว่าเครื่องมือสร้างผลิตภาพ แต่ยังสร้างความยั่งยืนอีกด้วย ซึ่งผู้ผลิตส่วนใหญ่ยังมองว่าเป็นเพียงผลพลอยได้ จึงไม่ได้ให้ความสำคัญในการนำมาปรับปรุงด้านความยั่งยืน

ChatGPT, AI, Generative AI, Digital Twin, Manufacturing

การใช้ ChatGPT / Generative AI ในอุตสาหกรรมการผลิต

Generative AI เช่น ChatGPT กำลังถูกนำมาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต ที่ช่วยมนุษย์ทำงานและสร้างนวัตกรรมใหม่ได้เร็วขึ้น และมีต้นทุนถูกลงอย่างมาก

Carbon Border Tax, ภาษีคาร์บอนข้ามแดน, Border Adjustment, CBAM : Carbon Border Adjustment Mechanism, ภาษีสิ่งแวดล้อม, Carbon leakage คือ, ภาษี CO2, ข้อดี ของ ภาษี พลังงาน, พลังงาน คาร์บอน, Carbon Pricing คือ, ลดก๊าซเรือนกระจก, ลด ภาษี ค่าคาร์บอน, Gre

Carbon Tax & Carbon War ผู้ประกอบการไทยเตรียมพร้อมรับมืออย่างไรแล้วบ้าง

ภาษีคาร์บอนข้ามแดน (Carbon Border Tax) ได้จุดประกายให้ทั่วโลกหันมาใช้มาตรการที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน ผู้ประกอบการไทยจึงควรเตรียมรับมือ โดยอาจมีการขยายขอบข่ายไปยังสินค้าที่ส่งผลต่อไท…

CHIPS for America Act, กฎหมาย CHIPS Act, CHIPS and Science Act, CHIPS Act of 2022, EEI สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, Creating Helpful Incentives to Produce Semiconductors for America Act

กฎหมายสนับสนุนอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ของสหรัฐอเมริกา CHIPS for America Act

CHIPS Act of 2022 เป็นกฎหมายฉบับใหม่ของสหรัฐฯ ในการเสริมสร้างอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ภายในประเทศ รวมถึง เสริมสร้างเศรษฐกิจ ความมั่นคง และซัพพลายเชนชิปของสหรัฐฯ

เมื่อโรงงานรับจ้างผลิต ถูกเลิกจ้าง การพัฒนา Brand ตนเอง สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ FTPI

เมื่อโรงงานรับจ้างผลิต ถูกเลิกจ้าง

กรณีศึกษาจากโรงงานแห่งหนึ่ง ที่ต้องดิ้นรนเพื่อความอยู่รอด เมื่อบริบทของธุรกิจเปลี่ยนไป และหากต้องการยกระดับตนเอง จากการรับจ้างผลิตมาเป็นการพัฒนา Brand ตนเอง ต้องใช้ความพยายาม และทรัพยากรกันไม่น้อยครับ

Green Productivity and the Circular Economy กลไกสำคัญนำโลกสู่ความยั่งยืน สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ FTPI

Green Productivity and the Circular Economy กลไกสำคัญนำโลกสู่ความยั่งยืน

ทิศทางและความสำคัญ ต่อการสร้างเสถียรภาพให้กับเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกอย่างยั่งยืนด้วยแนวคิด Green Productivity และ Circular Economy

เมื่อโลกและบริบทเปลี่ยน Productivity จะต้องปรับเปลี่ยนหรือไม่ อย่างไร สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ FTPI

เมื่อโลกและบริบทเปลี่ยน Productivity จะต้องปรับเปลี่ยนหรือไม่ อย่างไร

ตลอด 3 ปีที่ผ่านมา Productivity ถูกปรับเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง ยังคงเน้นเรื่อง QCDSMEE อยู่หรือไม่ และเทคโนโลยีที่ปรับเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว จะมีบทบาทอย่างไรต่อการขับเคลื่อนผลิตภาพในอนาคต

โคบอทส์, ควมปลอดภัยในโรงงาน, โรบอท, หุ่นยนต์, ระบบอัตโนมัติ

5 ข้อต้องคิด “ใช้โคบอทส์อย่างไรให้ปลอดภัย”

แม้ว่า Cobots เป็นหุ่นยนต์ที่ถูกออกแบบมาให้ร่วมปฏิบัติงานกับมนุษย์ได้อย่างปลอดภัย แต่ใช่ว่าจะปลอดภัย 100% เมื่อนำมาใช้งานจริงในโรงงาน จึงจำเป็นต้องพิจารณา 5 ข้อหลักนี้ร่วมด้วย ติดตามในบทความนี้

E-fuels คืออะไร? จะทำให้ยานยนต์ไม่ปล่อยคาร์บอนจริงหรือ?

E-fuels คืออะไร? จะทำให้ยานยนต์ไม่ปล่อยคาร์บอนจริงหรือ?

รู้จักกับ E-fuels เชื้อเพลิงสังเคราะห์ที่อาจจะเป็นข่าวดีสำหรับรถยนต์เครื่องยนต์สันดาป ICE และรถดีเซล ซึ่งเยอรมันบรรลุข้อตกลงกับอียูในการใช้เชื้อเพลิงชนิดนี้

Additive Manufacturing, การพิมพ์โลหะ 3 มิติ, 3D Printing, อุตสาหกรรมสีเขียว

‘Additive Manufacturing’ ตัวเร่งการเปลี่ยนผ่านสู่ ‘อุตสาหกรรมสีเขียว’ จริงหรือ?

เทคโนโลยี Additive Manufacturing กำลังจะมีบทบาทมากขึ้นในยุคเปลี่ยนผ่านสู่อุตสาหกรรมสีเขียว จริงหรือ? ในเมื่อกระบวนการผลิตผงโลหะและการพิมพ์ชิ้นงานยังต้องใช้พลังงานสูง ติดตามในบทความนี้

อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ, Smart Electronics, แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2566-2570), อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์, EEI, สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, Electronics, อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทย

ส่องแผนการพัฒนาอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะของไทย (ระยะที่ 1 : พ.ศ. 2566-2570)

สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ร่วมกับ สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม จัดทำแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2566-2570)