พร้อมหรือยัง อัตราค่าแรงขั้นต่ำใหม่หลังเลือกตั้ง COBOT ทางเลือกทางรอด
ก้าวข้ามปัญหาค่าแรง ลงทุนครั้งเดียวจบ ทำงานได้ต่อเนื่อง ปลอดภัย ลดข้อผิดพลาด ลดต้นทุน COBOT อาจไม่ใช่แค่ทางเลือก แต่เป็นทางรอดให้กับธุรกิจของคุณ
ก้าวข้ามปัญหาค่าแรง ลงทุนครั้งเดียวจบ ทำงานได้ต่อเนื่อง ปลอดภัย ลดข้อผิดพลาด ลดต้นทุน COBOT อาจไม่ใช่แค่ทางเลือก แต่เป็นทางรอดให้กับธุรกิจของคุณ
ตัวเลขเบื้องต้นของปี 2022 จากสมาคมหุ่นยนต์ญี่ปุ่นประเมินว่า ยอดสั่งซื้อหุ่นยนต์อุตสาหกรรมจากค่ายญี่ปุ่นจะมีมูลค่าราว 8,427 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 3.6% ทุบสถิติสูงสุดอีกครั้ง และจะรักษาโมเมนตัมนี้ต่อไปอีก
เทรนด์สำคัญ 6 ด้านสำหรับปี 2023 ที่จะมากระตุ้นการใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรมให้แพร่หลายยิ่งขึ้น โดยเฉพาะ Cobots และ Mobile Robots ที่มีราคาถูกลง ใช้งานง่ายขึ้น
เกาหลีใต้ครองแชมป์ ประเทศที่ใช้หุ่นยนต์แทนแรงงานมากที่สุด ส่วนจีนขึ้นแท่น Top 5 สำเร็จเป็นปีแรก
บริษัทในอเมริกาเหนือมีการลงทุนหุ่นยนต์สูงสุดเป็นประวัติการณ์ แต่ผลิตภาพกลับลดลง มาดูกันว่าเกิดอะไรขึ้นกับสหรัฐฯ
ความต้องการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติที่พุ่งสูงในจีน สหรัฐฯ และยุโรป ตัวเร่งสำคัญที่ดันยอดสั่งซื้อหุ่นยนต์ของญี่ปุ่นในปี 2021 ทำสถิติใหม่สำเร็จ
ในอนาคตอันใกล้ “ระบบอัตโนมัติ” จะเป็นตัวกำหนดทิศทางการวางระบบการทำงานในภาคอุตสาหกรรม แล้วเราจะมีวิธีการปรับตัวให้สามารถอยู่ร่วมกับเทคโนโลยีได้อย่างไร
เปิดตัวหุ่นยนต์ไฮเทค Epson “T-B Series” SCARA Robot ไฮไลต์จากงาน METALEX March 2022 ส่งสัญญาณรับหมากกระดานใหม่ของไทย สู่อุตสาหกรรมศักยภาพสูง
สมาคมด้านหุ่นยนต์จากนานาประเทศมองทิศทางตลาดหุ่นยนต์อุตสาหกรรมในปีนี้ที่ยังเติบโตได้อีก ซึ่งการระบาดของโควิดในช่วงที่ผ่านมาทำให้ตลาดเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก
รายงานผลสำรวจ SME ญี่ปุ่น เผยปัจจัยที่ตัดสินใจลงทุนหุ่นยนต์อุตสาหกรรม กระบวนการที่นำหุ่นยนต์มาใช้งาน ข้อพิจารณาในการเลือกซื้อ และเพราะเหตุใดบางบริษัทไม่มีแผนลงทุนหุ่นยนต์
Agile Manufacturing ที่ให้การผลิตคล่องตัว รวดเร็ว และยืดหยุ่น เมื่อรวมเข้ากับคุณภาพของระบบการตัดชิ้นงานด้วยหุ่นยนต์ ทำให้ผู้ประกอบการเริ่มหันมาใช้ Robot Machining เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ
โคบอท (Cobot) หรือ หุ่นยนต์ร่วมปฏิบัติงาน กำลังเข้าครองส่วนแบ่งตลาดมากขึ้นเรื่อย ๆ ด้วยอัตราการเติบโตที่เร็วกว่าหุ่นยนต์อุตสาหกรรมแบบดั้งเดิม อะไรคือเบื้องหลังความสำเร็จของเรื่องนี้
ในปี 2020 แม้ทั่วโลกตกอยู่ในภาวะบอบช้ำจากสถานการณ์โควิด แต่กลับเป็นอีกปีที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของอุตสาหกรรมหุ่นยนต์
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจและภาคธุรกิจหลังโควิดส่งผลอย่างไรต่อความต้องการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ สำรวจตัวเลขตลาด โอกาสและความท้าทายจากมุมมองของผู้ผลิตหุ่นยนต์ชั้นนำ
การฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน 2 หลักสูตรนี้กำหนดจัดในเดือนกุมภาพันธ์และมีนาคม 2564 ณ สถาบัน MARA ชลบุรี สมาชิกไทยซับคอนเข้าอบรมฟรี จำกัดคอร์สละ 20 ที่นั่ง
สิงคโปร์ครองแชมป์อันดับ 1 ประเทศที่มีการใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรมมากที่สุดในการผลิต มีอัตราส่วนหุ่นยนต์ 918 ตัวต่อแรงงาน 10,000 คน ตามด้วยเกาหลีใต้ 868 ตัว และญี่ปุ่น 364 ตัว
ปี 2019 ทั่วโลกมีการใช้งานหุ่นยนต์อุตสาหกรรมรวม 2.7 เครื่อง เพิ่มขึ้น 12% ติดตั้งใหม่ 3.7 แสนเครื่อง มูลค่ารวม 13.8 หมื่นล้านเหรียญ ในปี 2020 โควิดทำตลาดชะลอตัว
6 ผู้ผลิตหุ่นยนต์อุตสาหกรรมญี่ปุ่นร่วมสถาบันวิจัยและภาคการศึกษาก่อตั้ง ROBOCIP เพื่อวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีพื้นฐานหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
A.I.TECH AGV หุ่นยนต์ขนส่งอัจฉริยะ Solution สำหรับการขนส่งและลำเลียง โดดเด่นด้วยดีไซน์ที่สวยงามเป็นเอกลักษณ์ รูปแบบการใช้งานที่หลากหลาย พร้อมประโยชน์ใช้สอยที่สามารถตอบโจทย์ครอบคลุม…
งานสัมมนานี้เหมาะสำหรับผู้ที่สนใจนำหุ่นยนต์อุตสาหกรรมมาใช้งาน หรือต้องการพัฒนาระบบการผลิตโดยใช้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ จัดโดยสถาบันไทย-เยอรมัน ในวันที่ 12 กุมภาพันธ์นี้ ณ ไบเทค บางนา