ความก้าวหน้าหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ = ความก้าวหน้าหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
ความร่วมมือระหว่าง AIST และ Kawasaki Heavy Industries โดย AIST ได้เข้าสนับสนุนการพัฒนาระบบควบคุม และระบบขับเคลื่อนหุ่นยนต์ ได้เป็นหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ที่มีข้อต่อจำนวนมาก แต่สามารถคว…
ความร่วมมือระหว่าง AIST และ Kawasaki Heavy Industries โดย AIST ได้เข้าสนับสนุนการพัฒนาระบบควบคุม และระบบขับเคลื่อนหุ่นยนต์ ได้เป็นหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ที่มีข้อต่อจำนวนมาก แต่สามารถคว…
A-Traction ผู้ผลิตหุ่นยนต์การแพทย์ในเครือสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ประเทศญี่ปุ่น ประกาศพัฒนา “ “ANSUR” หุ่นยนต์ผู้ช่วยสำหรับการผ่าตัด
ห้างสรรพสินค้าญี่ปุ่นกว่า 500 แห่งทั่วประเทศในเครือ United Super Markets ร่วมกับ Nihon Unisys พัฒนาหุ่นยนต์ และปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) สำหรับทดแทนแรงงานแบบถาวร
“Mobile Manupulator” เทคโนโลยีที่จะช่วยให้หุ่นยนต์สามารถทำงานไปพร้อมกันกับการเคลื่อนที่ได้ ผลลัพธ์จาก World Robot Summit 2018
AIST พัฒนาหุ่นยนต์ฮิวแมนนอยด์ “HRP-5P” ที่ออกแบบเพื่อทดแทนผู้ใช้แรงงานโดยเฉพาะ
CoRE เปิดให้ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมระบบอัตโนมัติขอขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการเครื่องจักรกลอัตโนมัติและหุ่นยนต์ ฟรี! ก่อน 30 ก.ย. นี้ (จากค่าธรรมเนียมการเดินทางไปตรวจ 2,500 บาท)
TGI ร่วมกับ สำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ขอเชิญผู้ประกอบการเข้าร่วมโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ “กิจกรรมพัฒนา Startup ด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ”
Mr. Tomomasa Satou หัวหน้าคณะกรรมการฝ่ายบริหาร WRS และศาสตราจารย์กิตติคุณมหาวิทยาลัยโตเกียว ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับวิธีการที่จะเชื่อมโยงหุ่นยนต์, AI, เทคโนโลยี, และแอปพลิเคชัน เข้าด้วยกัน
นักวิจัยญี่ปุ่นพัฒนาหุ่นยนต์หมีดูแลผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อม รุ่นที่ 3 กำหนดทดลองใช้งานตามศูนย์ดูแลผู้ป่วยและสถานพยาบาลในปี 2019
Harvard's Microrobot หุ่นยนต์ขนาดเล็กที่ได้รับแรงบันดาลใจมากจากแมลงสาบ ไดร้บการออกแบบมาเพื่อช่วยเหลืองานของมนุษยชาติ ด้วยฟังก์ชันที่ไม่เล็กเหมือนตัว
แขนหุ่นยนต์ที่เลียนแบบมนุษย์ถูกพัฒนาขึ้นโดย ATR โดยได้พัฒนาถึงขั้นสามารถให้มันขยับเองได้ตามที่ใจเรานึก
NIKKO KINZOKU ผู้ผลิตเหล็กหล่อทนความร้อนสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ในญี่ปุ่น ได้ปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตด้วยการนำหุ่นยนต์เข้ามาใช้ เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนแรงงาน
จากรายงานล่าสุด เผยว่า ทีมงานได้หยุดพัฒนาหุ่นยนต์ที่เป็นดั่งสัญลักษณ์ของการพัฒนาหุ่นยนต์ ASIMO ของฮอนด้าแล้ว เนื่องจากจะมุ่งเน้นพัฒนาหุ่นยนต์ที่สามารถทำงานได้จริงมากกว่า
ธุรกิจ System Integrator (SI) กว่า 140 ราย ประสานความร่วมมือก่อตั้งกลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ในเดือนกรกฎาคมนี้ เพื่อตอบรับปัญหาการขาดแคลน SI ในสภาวะที่ความต้องการหุ่นยนต์พุ่งสูง
Yaskawa ส่งทีมบริหารและวิศวกรแผนกหุ่นยนต์เข้าทำงานร่วมกับผู้ผลิตในจีน รองรับการซัพพลาย Drive Control Unit ตามผลการเจรจาความร่วมมือทางธุรกิจและการแบ่งตลาดหุ่นยนต์ระหว่างกัน
Denso Japan เตรียมจำหน่าย Factory Automation ภายในปีนี้ โดยออกแบบให้ใช้งานร่วมกับ Picking Robot สายพานลำเลียง และหุ่นยนต์ลำเลียง เพื่อแก้ไขปัญหาขาดแคลนบุคลากรนั่นเอง
Panasonic เปิดธุรกิจใหม่หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวเรือน เล็งคนนอกประเมินช่วยเร่งการตัดสินใจ และได้ออกแนวทางการส่งเสริมธุรกิจใหม่ ภายใต้โครงการ “Game Changer Catapult (GCC)”
Shinagawa Machinery Works พัฒนาระบบลำเลียงไข่หวาน ด้วยการติดตั้งแขนหุ่นยนต์ลงไปที่ทางออกของเครื่องผลิต ซึ่งสามารถหยิบจับไข่ที่ผลิตออกมาเรียงลงบนถาดหรือสายพานได้โดยง่าย แม้กระทั่ง “ไข่ม้วน”
Yaskawa ประกาศการสนับสนุนเทคโนโลยีควบคุมหุ่นยนต์ และ Drive Control Unit สำหรับเซอร์โวมอเตอร์หุ่นยนต์ โดยตั้งเป้าเพิ่มยอดขายหุ่นยนต์ควบคู่ไปกับการขยายตลาดในจีน
ญี่ปุ่นเตรียมปฏิรูปสังคม ด้วย Future Investment Strategy 2018 เพื่อชูโรงโครงการขับขี่อัตโนมัติและการนำหุ่นยนต์มาใช้จริง สำหรับแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมญี่ปุ่น