ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นปี 2566 เดือนเมษายน หดตัว 14.4%
JMTBA รายงานยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกในเดือนเมษายน 2023 มีมูลค่ารวม 132,688 ล้านเยน (949 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) ลดลง 14.4% จากช่วงเวลาเดียวกันในปีก่อนหน้า
JMTBA รายงานยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกในเดือนเมษายน 2023 มีมูลค่ารวม 132,688 ล้านเยน (949 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) ลดลง 14.4% จากช่วงเวลาเดียวกันในปีก่อนหน้า
JMTBA รายงานยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกในเดือนมีนาคม 2023 มีมูลค่ารวม 141,019 ล้านเยน (856 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) ลดลง 15.2% จากช่วงเวลาเดียวกันในปีก่อนหน้า
JMTBA รายงานยอดการสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกในเดือนกุมภาพันธ์ 2023 มีมูลค่ารวม 124,095 ล้านเยน (943 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) ลดลง 10.7% จากช่วงเวลาเดียวกันในปีก่อนหน้า
JMTBA รายงานยอดการสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกในเดือนมกราคม 2023 มีมูลค่ารวม 129,087 ล้านเยน (946 ล้านดอลลาร์สหรัฐ) ลดลง 9.7% จากช่วงเวลาเดียวกันในปีก่อนหน้า
‘สมาคมเครื่องจักรกลญี่ปุ่น’ คาดการณ์ยอดสั่งซื้อในปี 2023 จะมีมูลค่า 1.2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลง 9.1% หดตัวครั้งแรกในรอบ 3 ปี ปัญหาขาดแคลนชิ้นส่วนทำให้เกิด Backlog สะสมมากเป็นประวัติการณ์
ปี 2565 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 13,685 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 14.2% จากปีก่อนหน้า ทำนิวไฮรอบ 4 ปี และสูงสุดติดอันดับ 2 นับตั้งแต่บันทึกสถิติ
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจาก 7 ผู้ผลิตแบรนด์หลัก ประจำปี 2022 ปิดที่ 4,103 ล้านเหรียญ เพิ่มขึ้น 21.6% จากปีก่อนหน้า และเป็นการเพิ่มขึ้นต่อเนื่องปีที่ 2 ด้าน Makino, Tsugami, และ Okuma ทำสถิติใหม่
ยอดสั่งซื้อเครื่องขึ้นรูปโลหะของญี่ปุ่นในปี 2022 มีจำนวนรวม 7,266 ล้านเครื่อง คิดเป็นมูลค่าราว 2,898 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 12.5% ทำสถิตสูงสุดอันดับ 3 นับตั้งแต่เริ่มบันทึกสถิติ
ในเดือนพฤศจิกายน 2565 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 1,011 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลง 7.7% พ้นจุดพีคสูงสุด ผู้ผลิตคาดการณ์ไตรมาสแรกปีหน้าออร์เดอร์หด
‘สมาคมเครื่องจักรขึ้นรูปโลหะญี่ปุ่น’ คาดการณ์ยอดสั่งซื้อในปี 2023 จะมีมูลค่า 371,500 ล้านเยน หรือราว 2,694 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งเเทียบเท่าตัวเลขสั่งซื้อเบื้องต้นของปี 2022
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลเยอรมันไตรมาสที่ 3 ของปี 2022 เติบโต 9% ท่ามกลางปัจจัยลบ ตัวเลขในช่วง 9 เดือนแรกเพิ่มขึ้น 26% จากความต้องการทั้งในประเทศและต่างประเทศ
ในเดือนตุลาคม 2565 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 1,055 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ลดลง 5.5% หดตัวครั้งแรกในรอบ 2 ปี
ในเดือนกันยายน 2565 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 1,022 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 4.3% ต่อเนื่องเดือนที่ 23
ในเดือนสิงหาคม 2565 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 963 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 10.7% ต่อเนื่องเดือนที่ 22 คาดทั้งตัวเลขทั้งปีจะเติบโตกว่าคาดการณ์ไปอยู่ที่ 1.2 หมื่นล้านดอลลาร์
ในเดือนกรกฎาคม 2565 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 1,029 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 5.5% ต่อเนื่องเดือนที่ 21
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลเยอรมันไตรมาสที่ 2 ของปี 2022 เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ภาพรวมครึ่งปีแรกมียอดสั่งซื้อเกือบเทียบเท่าปี 2018 ซึ่งเป็นปีที่ทำสถิติยอดสั่งซื้อสูงสุด แต่สถานการณ์ที่ไม่แน่นอนจะส่งผลต่อราคาในครึ่งปีหลัง
การลงทุนรถอีวีทำให้เครื่องจักรขึ้นรูปโลหะเติบโตอย่างมากในปีนี้ ‘สมาคมเครื่องจักรขึ้นรูปโลหะญี่ปุ่น’ ได้คาดการณ์ยอดสั่งซื้อทั้งปีจะมีมูลค่าราว 2,860 ล้านเหรียญ ซึ่งจะเป็นตัวเลขสูงสุดรอบ 4 ปี
ในเดือนมิถุนายน 2565 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 1,159 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 17.1% ต่อเนื่องเดือนที่ 20 ภาพรวมครึ่งปีแรกโดดเด่น โดยเฉพาะเครื่องจักรที่มีความแม่นยำสูง
ในเดือนพฤษภาคม 2565 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 1,134 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 23.7% โตต่อเนื่องเดือนที่ 19 ท่ามกลางการขาดแคลนชิ้นส่วน
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลเยอรมันไตรมาสแรกของปี 2022 อยู่ในระดับสูงและยังไหลรื่นได้ดี แต่ยังมีปัจจัยสงครามรัสเซีย ปัญหาซัพพลายเชน และพลังงานที่จะกระทบ คาดทั้งปีโต 10%