2 - 5 of 91 Articles
สถาบันวิทยากรหุ่นยนต์ภาคสนาม (FIBO) เปิดรับนักศึกษาใหม่เข้าเรียนต่อ หลักสูตรปริญญาโท-เอก ทางด้านวิทยาการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ตั้งแต่วันนี้ - 30 มิถุนายน 2565
การควบคุมหุ่นยนต์จากทางไกลมีความก้าวหน้ายิ่งขึ้น ช่วยให้การทำงานบางอย่างมีความคล่องตัวขึ้น จนเกิดเป็นการพัฒนาเทคโนโลยี Remote Physical Work ซึ่งมีอินเตอร์เฟซควบคุมหุ่นยนต์เป็นกุญแจสำคัญ
เตรียมพบกับหลักสูตรอบรมฟรี "Mobile Robotics" แบบจัดเต็ม !!! จัดโดย FIBO ระหว่างเดือน พ.ค. - ส.ค. 65 นี้ รับจำนวนจำกัด เพียง 20 ท่านเท่านั้น
สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (ฟีโบ้) มจธ. เปิดให้เยี่ยมชมสถาบันฯ รูปแบบออนไลน์ สำหรับนักเรียนชั้น ม.ปลาย ที่สนใจทางด้านวิทยาการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ลงทะเบียนภายในวันที่ 30 มกราคม 2565 นี้
รายงาน World Robotics R&D Programs โดย IFR เผยแนวทางสำคัญในการลงทุนวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ของ 6 ประเทศที่มีความก้าวหน้าด้านหุ่นยนต์
NIA Deep Tech Incubation Program@EEC เชิญชวนสตาร์ทอัพสาขาเทคโนโลยีเชิงลึก ในกลุ่ม ARI-Tech ซึ่งประกอบด้วย AI, Robotics, Immersive IoT ร่วมพัฒนาศักยภาพ
วิศวะมหิดล ร่วมกับ เอไอเอส พัฒนา UVC Moving CoBot 5G ระบบหุ่นยนต์ฆ่าเชื้อไวรัสและแบคทีเรียได้ถึง 99% ใช้ 5G ควบคุมและเชื่อมต่อประมวลผลผ่าน IoT
หุ่นยนต์พยาบาล หนึ่งในเทคโนโลยีที่มีบทบาทในการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุ ซึ่งกลายเป็นเรื่องยากในยุคโควิด ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของไทยที่กำลังก้าวสู่สังคมสูงวัยในอีก 15 ปีข้างหน้า
ครม. มีมติอนุมัติการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันหุ่นยนต์ระดับโลก RoboCup 2022 Bangkok Thailand ในช่วงเดือนมิถุนายน 2564 ณ ไบเทค
การระบาดของโควิดมีแนวโน้มกระตุ้นความต้องการหุ่นยนต์ในธุรกิจ และอุตสาหกรรมอื่น ๆ นอกจากการผลิต เช่น โรงพยาบาล บ้านพักคนชรา ร้านอาหาร และสถานศึกษา
FIBO AI / Robotics for All คือ โครงการส่งเสริมวิทยาการหุ่นยนต์สําหรับทุกคน และพัฒนาพัฒนานวัตกร, นักวิจัย, วิศวกร, วิสาหกิจเริ่มต้น ด้านวิทยาการหุ่นยนต์
สมาคม Thai Subcon ส่งมอบหุ่นยนต์เชื่อมโลหะให้กับสถาบัน MARA ยกระดับการพัฒนาบุคลากร รองรับแรงงานในพื้นที่ EEC
มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ บุกเบิกการพัฒนา “Vegebot” หุ่นยนต์เก็บเกี่ยวพืชผลการเกษตร ปัจจุบันสามารถใช้เก็บหัวผักกาดในแปลงเกษตรได้แล้ว
มหาวิทยาลัยมหิดล คิดค้นนวัตกรรม “หุ่นยนต์เอไอ-อิมมูไนเซอร์ (AI-Immunizer)” ทดสอบภูมิคุ้มกันอัจฉริยะในการพัฒนาวัคซีน ยกระดับการพัฒนาวัคซีนของไทยสู่ระดับโลก
MuM II เป็นหุ่นยนต์อัตโนมัติอเนกประสงค์ที่ FIBO ร่วมกับภาคอุตสาหกรรมพัฒนาขึ้น รองรับการทํางานหลากหลายหน้าที่ ทั้งการฆ่าเชื้อด้วย UV-C และ การส่งอาหารและจ่ายยาอัตโนมัติ โดยเป็นส่วนห…
สำนักงานคณะรัฐมนตรีประเทศญี่ปุ่น เล็งเห็นถึงความสำคัญของเทคโนโลยีควบคุมหุ่นยนต์ระยะไกล ตั้งเป้าว่ามนุษย์ 1 คน จะต้องควบคุมหุ่นยนต์ทางไกลได้มากกว่า 1,000 ตัวในปี 2050 ในขณะที่ Sony …
สองนวัตกรรมจากม. มหิดล หุ่นยนต์เวสตี้ (Wastie) เก็บขยะติดเชื้อ และหุ่นยนต์ฟู้ดดี้ (Foodie) ส่งอาหาร-ยาในหอผู้ป่วย ลดความเสี่ยงอันตรายต่อการติดเชื้อ และทดแทนงานหนักของบุคลากรทางการ…
สมาคมฟรอนโฮเฟอร์ ร่วม Volkswagen, Heinrich Hertz Institute, และ HHI ดำเนินโครงการ “EASY COHMO” เพื่อพัฒนาระบบตรวจสอบคุณภาพงานเชื่อมแบบไร้สัมผัส ด้วยการทำงานร่วมกันของมนุษย์ และหุ่นยนต์
“เอไอเอส” เดินหน้าพัฒนา “ROC : Robot for care” หุ่นยนต์ตัวแรกที่ทำงานบนเครือข่าย 5G ช่วยแพทย์รับมือวิกฤตโควิด-19
หลายเทคโนโลยีในภาคอุตสาหกรรมการผลิตได้เข้ามามีบทบาทสำคัญ ช่วยแบ่งเบาภาระงานด้านสาธารณสุข หมายกู้สถานการณ์ในสภาวะวิกฤต ร่วมสู้โควิด-19