ภาวะการลงทุนปี 2565 ครึ่งปีแรก ยอดขอรับส่งเสริมกว่า 2.1 แสนล้าน กลุ่มยานยนต์ไฟฟ้า - อุตฯ ดิจิทัลมาแรง
บีโอไอเผยยอดขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565 ครึ่งปีแรก 2.1 แสนล้านบาท กลุ่มยานยนต์ไฟฟ้า - อุตสาหกรรมดิจิทัลมาแรง
บีโอไอเผยยอดขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2565 ครึ่งปีแรก 2.1 แสนล้านบาท กลุ่มยานยนต์ไฟฟ้า - อุตสาหกรรมดิจิทัลมาแรง
อีอีซี เผยความคืบหน้าโครงการ เติบโตครบทุกมิติ ตั้งเป้าปี'66-70 ลงทุน 2.2 ล้านล้าน หลัง 5 ปีแรกทะลุเป้า ชี้รถ EV-ชิ้นส่วน, ธุรกิจแบตเตอรี, 5G, การแพทย์-Wellness บูมในอีก 5 ปีข้างหน้า
กนอ.เผยแผนแม่บทพัฒนานิคม-ท่าเรืออุตสาหกรรมอัจฉริยะ แย้มปี’66 ลุยปั้น “ท่าเรือบก (Dry Port)” รองรับการเป็นฮับโลจิสติกส์ในภูมิภาค!
ทิศทางของนักลงทุนญี่ปุ่นจะเป็นอย่างไร หลังเผชิญหลายปัจจัยเสี่ยงทำให้หลายธุรกิจหันมาลงทุนการผลิตในประเทศ และลดความสำคัญของฐานการผลิตในต่างประเทศ
การลงทุนรถอีวีทำให้เครื่องจักรขึ้นรูปโลหะเติบโตอย่างมากในปีนี้ ‘สมาคมเครื่องจักรขึ้นรูปโลหะญี่ปุ่น’ ได้คาดการณ์ยอดสั่งซื้อทั้งปีจะมีมูลค่าราว 2,860 ล้านเหรียญ ซึ่งจะเป็นตัวเลขสูงสุดรอบ 4 ปี
ในเดือนมิถุนายน 2565 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 1,159 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 17.1% ต่อเนื่องเดือนที่ 20 ภาพรวมครึ่งปีแรกโดดเด่น โดยเฉพาะเครื่องจักรที่มีความแม่นยำสูง
ธนาคาร SMBC ลงนามความร่วมมือ MOU เดินหน้าชวนนักลงทุนญี่ปุ่น ยกระดับการลงทุนในพื้นที่อีอีซี ต่อยอดจากปี 2564 ที่ผ่านมา นักลงทุนญี่ปุ่นได้รับการออกบัตรส่งเสริมจากบีโอไอ 19,445 ล้านบาท
ครึ่งปีแรก 2565 ต่างชาติแห่ลงทุนกว่า 69,949 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนเกือบ 30,000 ล้าน ญี่ปุ่นนำโด่ง 26,237 ล้าน ตัวเลขจ้างงานคนไทยรวมกว่า 3,164 คน
กนอ.โรดโชว์ญี่ปุ่น ชู life-long Partnership หวังดึงลงทุนในนิคมฯ เน้นเจาะกลุ่ม New S-Curve – อุตฯ ชีวภาพ
กนอ. เผยนักลงทุนแห่ชมพื้นที่ “นิคมฯ สงขลา (สะเดา) -นิคมฯ ยางพารา” หลังรัฐผ่อนคลายมาตรการและเปิดประเทศ จัดเต็มโปรโมชั่นฟรีค่าเช่า 1-3 ปีแรก!
อีอีซี เร่งก่อสร้าง 4 โครงสร้างพื้นฐานแล้วทุกโครงการ เผยเตรียมพัฒนา “โดรน” อากาศยานไร้คนขับ ให้เกิดประโยชน์ในพื้นที่ ครบทุกมิติ
อีอีซี รับคณะหอการค้า ซาอุฯ ในรอบ 32 ปี เร่งสร้างโอกาสลงทุนอุตสาหกรรมเป้าหมาย ดิจิทัล การแพทย์ชั้นสูง ท่องเที่ยวสุขภาพ แปรรูปอาหาร ยานยนต์ EV
ในเดือนพฤษภาคม 2565 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 1,134 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 23.7% โตต่อเนื่องเดือนที่ 19 ท่ามกลางการขาดแคลนชิ้นส่วน
การวางอนาคตประเทศไทยยุคหลังโควิดให้เติบโตอย่างยั่งยืนต่อไป จะต้องอาศัยการลงทุนในอุตสาหกรรมใหม่ ๆ เพื่อช่วยยกระดับศักยภาพและการแข่งขันของไทยให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงของโลก
“สมาคมอุตสาหกรรมเซมิคอนดัคเตอร์นานาชาติ” ปรับแก้ตัวเลขคาดการณ์ปี 2022 เผยการลงทุนเครื่องจักรและอุปกรณ์ผลิตเซมิคอนดักเตอร์จะมากถึง 109,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทำสถิติใหม่สูงสุด
กบอ. รายงานความคืบหน้าโครงการ EEC อาทิ การพัฒนา “โดรน” ในพื้นที่, การขับเคลื่อนเทคโนโลยีการแพทย์ชั้นสูง และ การผลิตน้ำจืดจากน้ำทะเล สร้างความมั่นใจทรัพยากรน้ำ
บีโอไอ ไฟเขียวโครงการลงทุนกว่า 2 แสนล้านบาท เพิ่มสิทธิประโยชน์จูงใจลงทุนผลิตแบตเตอรี่อีวี-กิจการนิคมอุตสาหกรรมอัจฉริยะ
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลเยอรมันไตรมาสแรกของปี 2022 อยู่ในระดับสูงและยังไหลรื่นได้ดี แต่ยังมีปัจจัยสงครามรัสเซีย ปัญหาซัพพลายเชน และพลังงานที่จะกระทบ คาดทั้งปีโต 10%
ความต้องการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติที่พุ่งสูงในจีน สหรัฐฯ และยุโรป ตัวเร่งสำคัญที่ดันยอดสั่งซื้อหุ่นยนต์ของญี่ปุ่นในปี 2021 ทำสถิติใหม่สำเร็จ
ในเดือนเมษายน 2565 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกปิดที่ 1,185 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 25.0% โตต่อเนื่องเดือนที่ 18 ยังไม่ได้รับผลกระทบการขาดแคลนชิ้นส่วนและล็อกดาวน์จีน