อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า ไตรมาส 2 ปี 2564 และแนวโน้มไตรมาสถัดไป
สถานการณ์อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าของไทยในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีการขยายตัวทั้งด้านการผลิต การบริโภค และนำเข้า โดยคาดการณ์ว่าจะยังคงขยายตัวได้ดีในไตรมาสถัดไป
สถานการณ์อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าของไทยในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีการขยายตัวทั้งด้านการผลิต การบริโภค และนำเข้า โดยคาดการณ์ว่าจะยังคงขยายตัวได้ดีในไตรมาสถัดไป
ดัชนี MPI ก.ค. 64 อยู่ที่ระดับ 91.41 เพิ่มขึ้น 5.12% รถยนต์และเครื่องยนต์, ชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์, ผลิตภัณฑ์ยางอื่น ๆ, เม็ดพลาสติก และน้ำตาล ปรับตัวสูงกว่าปี 2563
เศรษฐกิจโลกฟื้นตัวต่อเนื่อง ตามอุปสงค์การค้าระหว่างประเทศ โดยเฉพาะการส่งออก-นําเข้าที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน ซึ่งส่งผลต่อภาคการผลิตปรับตัวอยู่ในเกณฑ์ดี
กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปิดเผยแนวโน้มอุตสาหกรรมในไตรมาส 3 ปีนี้ที่ยังได้รับผลกระทบจากโควิด-19 เป็นปัจจัยสำคัญ
คณะรัฐมนตรีเห็นชอบการเพิ่มทุน EXIM BANK 4,198 ล้านบาท ครั้งแรกในรอบ 12 ปี ขยายการดำเนินงานขับเคลื่อนการค้าและการลงทุนเพื่อการพัฒนาประเทศ
ท่าเรือหนิงโปของจีนปิดดำเนินการบางส่วนหลังตรวจพบคนงานติดโควิด ซ้ำเติมวิกฤตซัพพลายเชนโลก ล่าสุดค่าขนส่งสินค้าทางเรือจากจีนไปยังสหรัฐฯ แตะ 20,000 ดอลลาร์ต่อตู้ 40 ฟุต
เมื่อหลายปัจจัยรวมกัน นำมาสู่ปัญหาใหม่ด้านซัพพลายเชน
อินเดียวันนี้ในเดือนกรกฎาคม 2021 ได้เห็นหลายสัญญาณฟื้นต้วของเศรษฐกิจแล้ว ไม่ว่าจะเป็นดัชนี PMI ตัวเลขการส่งออก และอัตราการจ้างงาน
EXIM BANK ชี้ภาคส่งออกรับบทพระเอกขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยครึ่งหลังปี 64 เล็งพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ สร้างผู้ส่งออก SMEs คาดส่งออกไทยปีนี้ ขยายตัวได้ 10%
ดัชนี MPI มิ.ย. 64 อยู่ที่ระดับ 97.73 เพิ่มขึ้น 17.58% รวมครึ่งปีแรก ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมขยายตัว 9.41%% ยานยนต์, ชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์, เหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน ปรับตัวสูงกว่าปี 2563
เมื่อเงินในกระเป๋าซื้อสินค้าได้น้อยลง เพราะข้าวของต่าง ๆ มีราคาแพงขึ้น ทั้งที่เศรษฐกิจไม่ดี หรือเรายากจนกว่าเดิม แล้วเคยสงสัยกันไหมว่า สถานการณ์เช่นนี้เกิดขึ้นเพราะอะไร คลิปนี้มีคำตอบ
จีนช้ำ วิกฤตชิปขาดตลาด ยันวัตถุดิบขึ้นราคา ลามถึง GDP เริ่มชะลอตัวในไตรมาส 2 หลายอุตสาหกรรมติดตามสถานการณ์ หวั่นลากยาว
ปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบ วัสดุ รวมถึงการขาดแคลนตู้คอนเทนเนอร์ ส่งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิต ทำให้โรงงานจีนปรับขึ้นราคาสินค้า คาดกระทบธุรกิจเป็นวงกว้าง
ดัชนี MPI พ.ค. 64 อยู่ที่ระดับ 100.47 เพิ่มขึ้น 25.84% รวม 5 เดือนแรกปีนี้ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมขยายตัว 7.97% ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, เหล็ก, เคมีภัณฑ์, เฟอร์นิเจอร์ และบรรจุภัณฑ์กระดาษ ปรับตัวสูงกว่าปี 2562
ปัญหาวัตถุดิบที่ขาดตลาด ราคาพุ่งสูงขึ้นต่อเนื่อง ทำให้สินค้าจีนหลายชนิดเริ่มปรับขึ้นราคาแล้ว กระทบดัชนีราคาผู้ผลิตของประเทศจีน สูงสุดรอบ 12 ปี
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ไทย ปี 2564 ประจำไตรมาสที่ 1 และแนวโน้มไตรมาสที่ 2 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 1 สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
สถานการณ์อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าของไทยในไตรมาสที่ 1 ปี 2564 มีการขยายตัวทั้งด้านการผลิต การบริโภค และนำเข้า โดยคาดการณ์ว่าจะยังคงขยายตัวในไตรมาสถัดไป
เศรษฐกิจโลกปรับตัวดีขึ้นอยู่ในเกณฑ์ดี สะท้อนจากเครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจหลักขยายตัวเกือบทุกประเทศ ตามการส่งออก-นำเข้า ส่งผลภาคการผลิตปรับตัวเพิ่มขึ้น
กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปิดเผยแนวโน้มอุตสาหกรรมในไตรมาส 2 ปีนี้ที่ยังได้รับผลกระทบจากโควิด-19 เป็นปัจจัยสำคัญ
ดัชนี MPI เม.ย. 64 อยู่ที่ระดับ 91.88 เพิ่มขึ้น 18.46% รวม 4 เดือนแรกปีนี้ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 4.38 และมีอัตราการใช้กำลังผลิตอยู่ที่ร้อยละ 65.48