ญี่ปุ่นดัน “หุ่นยนต์ส่งของอัตโนมัติ” ให้บริการเดลิเวอรี่
8 บริษัทญี่ปุ่น Kawasaki Heavy Industries, ZMP, TIS, Tier IV, Japan Post, Panasonic Corporation, Honda Giken Kogyo, และ Rakuten Group ร่วมก่อตั้ง “Robot Delivery Association” เพื่อ…
8 บริษัทญี่ปุ่น Kawasaki Heavy Industries, ZMP, TIS, Tier IV, Japan Post, Panasonic Corporation, Honda Giken Kogyo, และ Rakuten Group ร่วมก่อตั้ง “Robot Delivery Association” เพื่อ…
เมื่อปี 2015 จีนตั้งเป้าผลิตหุ่นยนต์อุตสาหกรรม 260,000 ตัวในอีก 10 ปีข้างหน้า แต่ทว่าเพียงไตรมาสสามของปี 2021 จีนสามารถพิชิตเป้าหมายนี้ด้วยยอดผลิตหุ่นยนต์ 268,694 ตัว
สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (ฟีโบ้) มจธ. เปิดให้เยี่ยมชมสถาบันฯ รูปแบบออนไลน์ สำหรับนักเรียนชั้น ม.ปลาย ที่สนใจทางด้านวิทยาการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ลงทะเบียนภายในวันที่ 30 มกราคม 2565 นี้
คาดการณ์ภาวะการลงทุนปี 2022 ในหมวดสินค้าทุน เครื่องจักร หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ จะขยายตัวอย่างมาก เพื่อแก้ปัญหาซัพพลายเชนและการเปลี่ยนเทคโนโลยี
2 ผลงานหุ่นยนต์ ซอฟต์แวร์ NEF ป้องกันผู้ป่วยตกเตียง - หุ่นยนต์ CARVER ส่งอาหารและยา จากสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (ฟีโบ้) คว้ารางวัลในการแข่งขัน TCELS IMEDBOT 2021
วิศวะมหิดล โชว์ผลงานหุ่นยนต์ AI ช่วยผ่าตัด (Minimal Invasive Surgery: MIS) สำหรับผ่าตัดแบบส่องกล้อง นวัตกรรมฝีมือคนไทย ในงานนิทรรศการ AI และ Big Data กองทัพเรือ ประจำปี 2564
บทบาทใหม่ของหุ่นยนต์ในสาขาแพทย์ พยาบาล และสุขภาพ ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางเพื่อเข้ามาเป็นผู้ช่วยเปี่ยมประสิทธิภาพ
การศึกษาเทรนด์อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ของเกาหลีใต้จึงเป็นประโยชน์อย่างมาก เพราะเกาหลีใต้ ประเทศอันดับ 2 ของโลกที่มีอัตราส่วนหุ่นยนต์อุตสาหกรรมมากที่สุด และเป็นหนึ่งในผู้ผลิตหุ่นยนต์ท็อป 5 ดังนี้
หุ่นยนต์ CARVER-Mini-M พัฒนาโดย FIBO มีจุดเด่นคือ ผู้ใช้บริการควบคุมการเคลื่อนที่เอง, ขนยา อาหาร และเครื่องมือแพทย์ได้อย่างน้อย 30 กิโลกรัม, สื่อสารระยะไกลระหว่างพยาบาลและผู้ป่วยผ่าน Tablet ได้
สวทช. ร่วมกับ องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น เปิดโครงการแข่งขัน The 2nd Kibo Robot Programming Challenge เตรียมความพร้อมรองรับนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมอวกาศไทย
ดีอีทีไอ (DETI) ร่วม สถาบัน MARA ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ พัฒนากำลังคนให้เป็นไปตามความต้องการของตลาดแรงงานและภาคอุตสาหกรรม ในเขตพื้นที่ EEC และใกล้เคียง
หุ่นยนต์พยาบาล หนึ่งในเทคโนโลยีที่มีบทบาทในการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุ ซึ่งกลายเป็นเรื่องยากในยุคโควิด ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของไทยที่กำลังก้าวสู่สังคมสูงวัยในอีก 15 ปีข้างหน้า
การระบาดของโควิดมีแนวโน้มกระตุ้นความต้องการหุ่นยนต์ในธุรกิจ และอุตสาหกรรมอื่น ๆ นอกจากการผลิต เช่น โรงพยาบาล บ้านพักคนชรา ร้านอาหาร และสถานศึกษา
ปตท. ร่วมกับ กนอ. พัฒนาธุรกิจดิจิทัลแพลตฟอร์ม ขับเคลื่อนการใช้ Robot และ Automation เพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมไทย
แม้ว่าเหตุผลหลักในการใช้หุ่นยนต์นั้นจะเป็นการทดแทนแรงงานและลดต้นทุนการผลิต แต่สำหรับตลาด SME แล้ว ต้องเริ่มจากการสร้างความรู้ความเข้าใจ และเน้นใช้หุ่นยนต์เพิ่มประสิทธิภาพของสินค้า
หุ่นยนต์อาจไม่ใช่ทุกคำตอบ เมื่อเทสล่าไม่บรรลุผลในการใช้หุ่นยนต์เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยหันพึ่ง "เครื่องฉีดอะลูมิเนียมไดคาสติ้ง" เพื่อผลิตชิ้นส่วนที่ออกแบบให้เรียบง่ายขึ้นและมีจำนวนชิ้นที่น้อยลง
NR Connect เทคโนโลยีด้าน IoT ที่เข้ามาสนับสนุนผู้ประกอบการโรงงาน ได้ก้าวผ่านสู่โรงงานอัจฉริยะ Smart Factory ในอนาคตอันใกล้
การใช้โรบอทในโรงงานส่งผลกระทบต่อการจ้างงานอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ มีงานวิจัยระบุถึงความสัมพันธ์ของจำนวนหุ่นยนต์ มีผลต่ออัตราการจ้างงาน และค่าแรงงาน รวมถึงความได้เปรียบเชิงธุรกิจ
วิกฤต COVID-19 ผลักดันให้ผู้คนทั่วโลกเข้าสู่ New Normal ในทุกด้าน รวมถึงธุรกิจและอุตสาหกรรม ซึ่งนำสู่ความต้องการใช้โคบอทส์ (Cobots) เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
MuM II เป็นหุ่นยนต์อัตโนมัติอเนกประสงค์ที่ FIBO ร่วมกับภาคอุตสาหกรรมพัฒนาขึ้น รองรับการทํางานหลากหลายหน้าที่ ทั้งการฆ่าเชื้อด้วย UV-C และ การส่งอาหารและจ่ายยาอัตโนมัติ โดยเป็นส่วนห…