13 - 24 of 463 Articles
ปริมาณการผลิตรถจักรยานยนต์ของไทยในไตรมาสที่ 1 ปี 2563 มีปริมาณการผลิตชะลอตัวเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยเป็นการชะลอตัวของตลาดในประเทศและตลาดส่งออกจากเศรษฐกิจในประเท…
การผลิตรถยนต์ในไตรมาสที่ 1 ปี 2563 มีปริมาณการผลิตลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากตลาดในประเทศและส่งออกชะลอตัวจากผลกระทบของไวรัสโควิด-19 ในหลายประเทศทั่วโลก ส…
การผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ในไตรมาสที่ 1 ปี 2563 ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 ส่งผลให้ประชากรส่วนใหญ่ Work From …
การผลิตสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าในไตรมาสที่ 1 ปี 2563 ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.9 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันกับปีก่อน เนื่องจาก สถานการณ์ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้การผลิตที…
อุตสาหกรรมพลาสติกไทยไตรมาสที่ 1 ปี 2563 มีปริมาณการส่งออกขยายตัวเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกัน ของปีก่อน ขยายตัวตามความต้องการของตลาดประเทศคู่ค้าหลัก เช่น สหรัฐอเมริกา เวียดนาม และอิน…
ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เปิดเผยผลสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นฯ พ.ค.63 อยู่ที่ 31.3 ลดลงจากเดือนเมษายนที่อยู่ในระดับ 32.1 สาเหตุจากความกังวลต่อสถานการณ์ไวรัสโควิด-19,…
ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมเหล็กไตรมาสที่ 1 ปี 2563 หดตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปี 2562 จากการผลิตผลิตภัณฑ์ในกลุ่มเหล็กทรงยาวและเหล็กทรงแบนหดตัว เช่น เหล็กเส้นกลม เหล็กโครงสร้าง รูป…
กกร. ยังคงประมาณการเศรษฐกิจไทยอาจหดตัวในกรอบ -5.0% ถึง -3.0% ไว้ตามเดิม พร้อมสนับสนุนการเข้าร่วมเจรจา CPTPP ชี้เป็นประโยชน์สำหรับการปรับตัวของไทยให้สามารถแข่งขันในเวทีโลก โดยเฉพาะใ…
ภาวะเศรษฐกิจโลก ไตรมาสที่ 1/2563 เศรษฐกิจและปริมาณการค้าโลกหดตัวลงอัตราเงินเฟ้อและอัตราการว่างงานในบางประเทศปรับตัวเพิ่มขึ้น ขณะที่อัตราดอกเบี้ยนโยบายยังคงอยู่ในระดับต่ำ
มูลค่าการค้าต่างประเทศในไตรมาสที่ 1 ปี 2563 ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน ส่วนหนึ่งเป็นการส่งออกกลุ่มสินค้าที่ได้รับอานิสงส์จากสงครามการค้าที่เริ่มผ่อนคลายความตึงเครียดล…
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เผย แนวโน้มอุตสาหกรรมรายสาขาที่สำคัญ ไตรมาสที่ 2/2563 โดยวิกฤตไวรัสโควิด-19 จะยังคงเป็นปัจจัยสำคัญต่อภาคอุตสาหกรรมของไทย
รายงานสรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมในไตรมาสที่ 1/2563 พิจารณาจากดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) หดตัวร้อยละ 6.6 โดยปัจจัยสำคัญมาจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว รวมถึงผลกระทบจากสถานการณ์ไวรัสโควิด-19
กรมการค้าต่างประเทศ เผยยอดการใช้สิทธิประโยชน์สำหรับการส่งออกภายใต้ความตกลงการค้าเสรี และภายใต้ระบบสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป ช่วง 3 เดือนแรกของปี 2563 มีมูลค่าการใช้สิทธ…
MPI Index ของไทยในเดือนเม.ย. 63 หดตัวลง 17.21% (YoY) ผลจากสถานการณ์เศรษฐกิจทั่วโลกที่ชะลอตัว กอปรกับโรงงานอุตสาหกรรมบางส่วนหยุดการผลิตชั่วคราว อย่างไรก็ตาม มีการขยายตัวในอุตสาหกรรม…
ผลการสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมเดือนเมษายน 2563 ต่ำสุดในรอบ 11 ปี สาเหตุจากความกังวลต่อสถานการณ์และมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เปิดเผยผลสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นฯ เม.ย.63 อยู่ที่ 32.1 ลดลงจากเดือนมีนาคมที่อยู่ในระดับ 37.5 ต่ำสุดนับแต่มีการสำรวจมา สาเหตุหลักยังคงเป็…
กกร. ประเมินเศรษฐกิจไทยอาจหดตัว -5.0% ถึง -3.0% ดีกว่าที่ IMF คาดว่าจะหดตัว -6.7%
สภาผู้ส่งออก คาดการส่งออกทั้งปี 63 หดตัว -8% จากโควิด-19 และราคาน้ำมันตกต่ำ ขณะที่เอ็กซิมแบงก์ ห่วงหนี้สาธารณะพุ่งสูงจากมาตรการอัดฉีดเม็ดเงินเข้าระบบเศรษฐกิจ
ธนาคารแห่งประเทศไทย ทำการสำรวจความคิดเห็นผู้ประกอบการทั้งรายใหญ่และรายเล็ก ชี้ไวรัส COVID-19 ส่งผลกระทบทางลบต่อภาคธุรกิจอย่างเป็นวงกว้างผ่านช่องทางการขนส่งเป็นสำคัญ
เผย เดือน เม.ย. 63 มีการอนุญาตให้ชาวต่างชาติ 26 ราย ประกอบธุรกิจในไทย โดยส่วนใหญ่เป็นนักลงทุนจากประเทศญี่ปุ่น จีน และเนเธอร์แลนด์