อุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ไทย ไตรมาส 4 ปี 2563 และแนวโน้มไตรมาสถัดไป
ในไตรมาสที่ 4 ปี 2563 ปริมาณการผลิตขยายตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อนจากตลาดในประเทศ แต่ตลาดส่งออกยังคงชะลอตัว
ในไตรมาสที่ 4 ปี 2563 ปริมาณการผลิตขยายตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อนจากตลาดในประเทศ แต่ตลาดส่งออกยังคงชะลอตัว
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เผยสถานการณ์อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทย ประจำไตรมาสที่ 4 ปี 2563 และแนวโน้มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไตรมาสที่ 1 ปี 2564
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เผยสถานการณ์ของอุตสาหกรรมไฟฟ้าประจำไตรมาสที่ 4 ปี 2563 และแนวโน้มไตรมาสที่ 1 ปี 2564
ภาวะเศรษฐกิจโลกไตรมาส 4 ปี 2563 ภาคการผลิต และปริมาณการค้าหดตัวน้อยลงเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า มีทิศทางดีขึ้นตามอุปสงค์การค้าระหว่างประเทศ
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวมกว่า 1.13 แสนล้านเหรียญ ส่งออกหดตัว 2% ในขณะที่นำเข้าหดตัว 4.2% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ เกินดุล 3 พันล้านเหรียญ
กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปิดเผยแนวโน้มอุตสาหกรรมในไตรมาส 1 ปีนี้ที่ยังได้รับผลกระทบจากโควิด-19
สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาสที่ 4 ปี 2563 ดัชนี MPI หดตัว 0.9% ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้าซึ่งหดตัวร้อยละ 8.1
อก. เผยดัชนีอุตสาหกรรมเดือน ม.ค.64 ปรับตัวดีขึ้น 6.03% จากเดือน ธ.ค.63 โดยเพิ่มขึ้นทั้งระดับการผลิต และอัตราการใช้กำลังการผลิต
อก. เผยโครงการกระตุ้น ศก. ของรัฐ และการได้รับวัคซีน สร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคและนักลงทุน ชี้อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันโควิด-19 ยังคงขยายตัวต่อเนื่อง
อก. เผย MPI เดือน พ.ย. พลิกฟื้นครั้งแรกในรอบ 19 เดือนขยายตัวร้อยละ 0.35 ชี้จับตาดูสถานการณ์โควิด-19
ภาพรวมอุตฯ พลาสติกใน Q3 ดัชนีผลผลิตและดัชนีการส่งสินค้าหดตัว แต่ปริมาณการส่งออกขยายตัวเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันปีก่อน สาเหตุจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในประเทศคู่ค่าหลัก
สศอ. เผยตัวเลขภาพรวมอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์และชิ้นส่วนใน Q3 ยังคงอยู่ในภาวะหดตัว คาด Q4 จะมีการผลิต 450,000 คัน โดยส่วนใหญ่เป็นการผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศ
การผลิตรถยนต์ในไตรมาสที่ 3 ปี 2563 ปริมาณการผลิตลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากตลาดในประเทศและส่งออกชะลอตัวจากผลกระทบโควิด-19
ภาพรวมอุตฯ อิเล็กทรอนิกส์ในไตรมาสที่ 3/2563 เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่แล้ว 10% แต่ลดลงเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันปีก่อน 3.6%
คาดการณ์ อุตสาหกรรมไฟฟ้าไตรมาสที่ 4 ดัชนีผลผลิตและมูลค่าการส่งออกจะปรับตัวเป็นบวกได้ที่ 6.4% และ 3.0% ตามลำดับ ผลจากปริมาณคำสั่งซื้อที่เพิ่มขึ้นจากทั้งในและต่างประเทศ
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวมกว่า 1.07 แสนล้านเหรียญ ส่งออกหดตัว 7.8% ในขณะที่นำเข้าหดตัว 19.0% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ เกินดุล 9.9 พันล้านเหรียญ
สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาส 3 ดัชนี MPI หดตัว 8.3% โดยปัจจัยสำคัญมาจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว รวมถึงผลกระทบจากโควิด-19
กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปิดเผยแนวโน้มอุตสาหกรรมในไตรมาส 4 ปีนี้ที่ยังได้รับผลกระทบจากโควิด-19
อก. เผย MPI เดือน ต.ค. ขยายตัวจากเดือนก่อนร้อยละ 0.45 คาดปีหน้า MPI และ GDP ภาคอุตฯ จะกลับมาขยายตัวเป็นบวก
รมว.อุตสาหกรรม เปิดงานประจำปี OIE Forum 2020 New Perspective of Thailand Industry ชี้บทบาท 2 อุตฯ สำคัญ ช่วยพลิกฟื้นอุตสาหกรรมไทย