ภาวะเศรษฐกิจโลก ไตรมาส 2/2565
ภาพรวมเศรษฐกิจโลกมีทิศทางชะลอตัวลงเนื่องจากระดับราคาพลังงานและเงินเฟ้อเร่งตัวสูงขึ้น ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตและค่าครองชีพปรับตัวเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
ภาพรวมเศรษฐกิจโลกมีทิศทางชะลอตัวลงเนื่องจากระดับราคาพลังงานและเงินเฟ้อเร่งตัวสูงขึ้น ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตและค่าครองชีพปรับตัวเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
สศอ. เผย ดัชนี MPI ส.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 99.28 เพิ่มขึ้น 14.52% (YoY) ยานยนต์ น้ำมันปิโตรเลียม เครื่องปรับอากาศ ชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ รถจักรยานยนต์ ปรับตัวสูงกว่าปี 2564
สศอ. เผย ดัชนี MPI ก.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 95.71 เพิ่มขึ้น 6.37% (YoY) ยานยนต์ น้ำมันปิโตรเลียม ผลิตภัณฑ์คอนกรีต-ปูนซีเมนต์ ชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องปรับอากาศ ปรับตัวสูงกว่าปี 2564
สศอ. เผย ดัชนี MPI มิ.ย. 65 ทรงตัวอยู่ที่ระดับ 98.05 ภาพรวมครึ่งปีแรก โต 0.48% น้ำมันปิโตรเลียม เครื่องปรับอากาศ และยานยนต์ ปรับตัวสูงกว่าปี 2564
สศอ. เผย ดัชนี MPI พ.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 98.05 เพิ่มขึ้น 7.46% (MoM) ชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เภสัชภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์ยางอื่น ๆ ปรับตัวสูงกว่าปี 2564
สถานการณ์อุตสาหกรรมพลาสติกไตรมาส 1/2565 ดัชนีผลผลิต-ส่งสินค้าหดตัว จากช่วงเดียวกันปีก่อน
สถานการณ์อุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์และชิ้นส่วนไทย ปี 2565 ไตรมาส 1 และแนวโน้มไตรมาส 2 จากข้อมูลโดย สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สถานการณ์อุตสาหกรรมไฟฟ้า ปี 2565 ไตรมาส 1 และแนวโน้มไตรมาส 2 จากข้อมูลโดย สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ภาพรวมเศรษฐกิจโลกมีทิศทางขยายตัวต่อเนื่อง สะท้อนได้จากทั้งการส่งออกและนำเข้าที่ขยายตัวช่วยให้การผลิตเติบโตตาม แม้ต้นทุนพลังงานและวัตถุดิบจะยังคงเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปิดเผยแนวโน้มอุตสาหกรรม ปี 2565 ไตรมาสที่ 2 ซึ่งคาดว่าจะได้รับผลกระทบจากปัญหาต้นทุนพลังงานและวัตถุดิบ เป็นปัจจัยสำคัญ
สถานการณ์อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทย ปี 2565 ไตรมาสที่ 1 และแนวโน้มไตรมาสที่ 2 จากข้อมูลโดย สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สถานการณ์อุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ไทย ปี 2565 ไตรมาส 1 และแนวโน้มไตรมาส 2 จากข้อมูลโดย สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวมกว่า 1.48 แสนล้านเหรียญ ส่งออกขยายตัว 14% ในขณะที่นำเข้าขยายตัว 18% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าไตรมาสนี้ ขาดดุลราว 943 ล้านเหรียญ
สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาสที่ 1 ปี 2565 ดัชนี MPI ขยายตัว 4.9% จากไตรมาสก่อนหน้า
สศอ. เผย ดัชนี MPI เม.ย. 65 อยู่ที่ระดับ 91.79 หดตัว 16.51% (MoM) แต่ยังเพิ่มขึ้น 0.56% (YoY) ยานยนต์, ผลิตภัณฑ์ยางอื่น ๆ, ชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ปรับตัวสูงกว่าปี 2564
สศอ. เผย ดัชนี MPI มี.ค. 65 อยู่ที่ระดับ 109.32 ขยายตัวได้ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 7 น้ำตาล น้ำมันปิโตรเลียม ยานยนต์ ปุ๋ยเคมี และเบียร์ ปรับตัวสูงกว่าปี 2563
สศอ. เผย ดัชนี MPI ก.พ. 65 อยู่ที่ระดับ 102 ขยายตัวได้ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6 คาดการณ์ทั้งปีขยายตัว 3.5 – 4.5% แนะติดตามสถานการณ์รัสเซียยูเครนใกล้ชิด
สศอ. เผยแผนงานบูรณาการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต เคาะ 6 แนวทาง มุ่งปรับโครงสร้างภาคการผลิต
สถานการณ์อุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์และชิ้นส่วนไทย ปี 2564 ไตรมาส 4 และแนวโน้มปี 2565 ไตรมาส 1 จากข้อมูลโดย สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สถานการณ์อุตสาหกรรมพลาสติกไตรมาส 4/2564 ทั้งดัชนีผลผลิต-ส่งสินค้า-การส่งออก-นำเข้า ล้วนขยายตัวจากไตรมาสก่อนหน้า