1 - 1 of 19 Articles
ภาคการผลิตทั่วโลกกำลังเผชิญกับการขาดแคลนแรงงานที่มีทักษะ รวมถึงบทบาทในระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และการผลิตขั้นสูง บริษัทในอุตสาหกรรมระบบอัตโนมัติจึงจัดตั้งโปรแกรมพัฒนาอาชีพที่มีความสำคัญในการแก้ไขความท้าทายเหล่านี้
การใช้ Cobots ในโรงงานและคลังสินค้าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการทำงานร่วมกันระหว่างมนุษย์และหุ่นยนต์ในรูปแบบต่าง ๆ โดย “HRC Level 5” เป็นระดับสูงสุดของการทำงานร่วมกันได้อย่างปลอดภัยและเรียลไทม์
การเชื่อมด้วยหุ่นยนต์ช่วยเพิ่มผลผลิต คุณภาพ และความปลอดภัย ช่วยให้ผู้ผลิตเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการเชื่อม ลดเวลาหยุดทำงาน และปรับปรุงประสิทธิภาพโดยรวม ตอบสนองต่ออุตสาหกรรมการผลิต 4.0
แม้ว่า Cobots เป็นหุ่นยนต์ที่ถูกออกแบบมาให้ร่วมปฏิบัติงานกับมนุษย์ได้อย่างปลอดภัย แต่ใช่ว่าจะปลอดภัย 100% เมื่อนำมาใช้งานจริงในโรงงาน จึงจำเป็นต้องพิจารณา 5 ข้อหลักนี้ร่วมด้วย ติดตามในบทความนี้
ประโยชน์ของการนำ Robot Vision Measurement System มาใช้ในการตรวจสอบคุณภาพการผลิตในอุตสาหกรรม โดยมีหุ่นยนต์ช่วยหยิบวางชิ้นงานแทนคน เพื่อความแม่นยำ หลากหลาย และรวดเร็ว
การนำเทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น AI, ML, IoT, AR หรือ VR มาช่วยปรับปรุงกระบวนการผลิต คือความท้าทายของผู้ผลิตและผู้ประกอบการด้านอุตสาหกรรม เพื่อก้าวไปสู่อุตสาหกรรม 4.0
ในอนาคตอันใกล้ “ระบบอัตโนมัติ” จะเป็นตัวกำหนดทิศทางการวางระบบการทำงานในภาคอุตสาหกรรม แล้วเราจะมีวิธีการปรับตัวให้สามารถอยู่ร่วมกับเทคโนโลยีได้อย่างไร
Agile Manufacturing ที่ให้การผลิตคล่องตัว รวดเร็ว และยืดหยุ่น เมื่อรวมเข้ากับคุณภาพของระบบการตัดชิ้นงานด้วยหุ่นยนต์ ทำให้ผู้ประกอบการเริ่มหันมาใช้ Robot Machining เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ
ผู้ประกอบการไทยหลายรายตั้งเป้านำ “ออโตเมชั่น” หรือ “ระบบอัตโนมัติ” มาใช้เพื่อมุ่งหวัง “ลดต้นทุน” เป็นสำคัญ
เมื่ออุตสาหกรรมหุ่นยนต์และออโตเมชั่นไทยปักหมุดขึ้น 'ผู้นำอาเซียน' ภายในปี 2569 เป้าหมายนี้จะเป็นไปได้แค่ไหน ฟังเสียงสะท้อนจากผู้ประกอบการด้านการบูรณาการระบบอัตโนมัติ
ดร.ประพิณ อภินรเศรษฐ์ กับบทบาท “นายกสมาคมคนแรก” ของ Thai Automation and Robotics Association (TARA) การรวมกลุ่มผู้ประกอบการ System Integrator (SI) กับ ภาระกิจอันเข้มข้น
สถานการณ์ System Integrator ในประเทศไทยในมุมมองของ ดร.ชิต กับการร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อขับเคลื่อนอุตสาหกรรมและพัฒนาอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ ระบบอัตโนมัติสู่ความเป็นผู้ผลิตหุ่นยนต์ในอนาคต
IFR คาดการณ์ว่า ในปี 2019 ยอดลงทุนโรบอทจะลดลงจากปี 2018 ก่อนเริ่มฟื้นตัวในช่วงปี 2020 - 2022 ด้าน EEC เผยหุ่นยนต์อุตสาหกรรม ประเภทหลักที่มีแนวโน้มเป็นที่ต้องการ และประเทศไทยมีการวางแผนสร้างฐานการผลิต
ผู้ผลิตหุ่นยนต์สัญชาติไทย GEN SURV การรวมตัวของวิศวกรที่รักการทำหุ่นยนต์ เน้นใช้เทคโนโลยี state of the art ด้าน Mobile robotics
ในวาระ AMADA ASEAN Technical Center ครบรอบ 1 ปี Mr. Mitsuo Okamoto Chairman & CEO ของ AMADA Group ได้เผยวิสัยทัศน์และนโยบายด้านยุทธศาสตร์ที่จะขับเคลื่อนธุรกิจในระยะถัดไป
การส่งไม้ต่อของประธาน Nidec จาก Mr. Shigenobu Nagamori ไปสู่ Mr. Hiroyuki Yoshimoto กำลังเป็นที่จับตามอง ทั้งคู่จะมาเปิดเผยอนาคตของ Nidec สำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์
คุณโยชิโนริ คาเนะฮานะ ประธานบริษัท Kawasaki Heavy Industries เผยการปรับเปลี่ยนแผนธุรกิจใหม่หลังธุรกิจบางประเภทเผชิญสถานการณ์ไม่สู้ดี
ในงานสัมมนาประจำปีของหนังสือพิมพ์ประชาชาติธุรกิจ Thailand 2018 “จุดเปลี่ยนและความท้าทาย” เมื่อ 15 พ.ย. 2560 “สมชัย เลิศสุทธิวงค์” ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์…
หลักคิดที่ใช้ขับเคลื่อน S.P. Metal Part และบริษัทในเครือ โดย คุณชาญชัย ตั้งธรรมพูนผล ซึ่งมีบริษัทในเครือทั้งหมด 4 บริษัทและพนักงานกว่า 1,500 คน ให้เป็นองค์กรที่เข้มแข็ง ประกอบด้วย…