
หวั่น! ความไม่แน่นอนในตลาดจีน กระทบหลายอุตสาหกรรม
จีนช้ำ วิกฤตชิปขาดตลาด ยันวัตถุดิบขึ้นราคา ลามถึง GDP เริ่มชะลอตัวในไตรมาส 2 หลายอุตสาหกรรมติดตามสถานการณ์ หวั่นลากยาว
จีนช้ำ วิกฤตชิปขาดตลาด ยันวัตถุดิบขึ้นราคา ลามถึง GDP เริ่มชะลอตัวในไตรมาส 2 หลายอุตสาหกรรมติดตามสถานการณ์ หวั่นลากยาว
ปัญหาการขาดแคลนวัตถุดิบ วัสดุ รวมถึงการขาดแคลนตู้คอนเทนเนอร์ ส่งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิต ทำให้โรงงานจีนปรับขึ้นราคาสินค้า คาดกระทบธุรกิจเป็นวงกว้าง
ดัชนี MPI พ.ค. 64 อยู่ที่ระดับ 100.47 เพิ่มขึ้น 25.84% รวม 5 เดือนแรกปีนี้ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมขยายตัว 7.97% ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, เหล็ก, เคมีภัณฑ์, เฟอร์นิเจอร์ และบรรจุภัณฑ์กระดาษ ปรับตัวสูงกว่าปี 2562
ปัญหาวัตถุดิบที่ขาดตลาด ราคาพุ่งสูงขึ้นต่อเนื่อง ทำให้สินค้าจีนหลายชนิดเริ่มปรับขึ้นราคาแล้ว กระทบดัชนีราคาผู้ผลิตของประเทศจีน สูงสุดรอบ 12 ปี
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ไทย ปี 2564 ประจำไตรมาสที่ 1 และแนวโน้มไตรมาสที่ 2 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 1 สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
สถานการณ์อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าของไทยในไตรมาสที่ 1 ปี 2564 มีการขยายตัวทั้งด้านการผลิต การบริโภค และนำเข้า โดยคาดการณ์ว่าจะยังคงขยายตัวในไตรมาสถัดไป
เศรษฐกิจโลกปรับตัวดีขึ้นอยู่ในเกณฑ์ดี สะท้อนจากเครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจหลักขยายตัวเกือบทุกประเทศ ตามการส่งออก-นำเข้า ส่งผลภาคการผลิตปรับตัวเพิ่มขึ้น
กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปิดเผยแนวโน้มอุตสาหกรรมในไตรมาส 2 ปีนี้ที่ยังได้รับผลกระทบจากโควิด-19 เป็นปัจจัยสำคัญ
ดัชนี MPI เม.ย. 64 อยู่ที่ระดับ 91.88 เพิ่มขึ้น 18.46% รวม 4 เดือนแรกปีนี้ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 4.38 และมีอัตราการใช้กำลังผลิตอยู่ที่ร้อยละ 65.48
สัมมนา EEC Macroeconomic Forum ชี้โควิด-19 ทำรายได้ประเทศหาย 2.2 ล้านล้านบาท ประมาณการ GDP ขยายตัวต่ำกว่า 2%
หลายสัญญาณบวกสะท้อนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจเวียดนามในไตรมาสแรกของปี 2564 กลับมาเทียบเท่าก่อนการระบาดของโรคโควิด-19
อก. เผยดัชนีอุตฯ มี.ค. 64 เพิ่มขึ้น 4.12% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวสูงสุดในรอบ 29 เดือน การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4
อก. เผยดัชนีอุตสาหกรรมเดือน ก.พ.64 ปรับตัวลดลง 1.08% จากเดือนเดียวกันปีก่อน แต่สถานการณ์การผลิตในอุตสาหกรรมสำคัญกลับมาขยายตัว ดันการส่งออกเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3
ในไตรมาสที่ 4 ปี 2563 ปริมาณการผลิตขยายตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อนจากตลาดในประเทศ แต่ตลาดส่งออกยังคงชะลอตัว
สถานการณ์อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าของไทยในไตรมาสที่ 4 ปี 2563 มีการขยายตัวทั้งด้านการผลิต จำหน่าย และนำเข้า และคาดการณ์การผลิตเหล็กจะทรงตัวในไตรมาสถัดไป
ภาวะเศรษฐกิจโลกไตรมาส 4 ปี 2563 ภาคการผลิต และปริมาณการค้าหดตัวน้อยลงเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า มีทิศทางดีขึ้นตามอุปสงค์การค้าระหว่างประเทศ
กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปิดเผยแนวโน้มอุตสาหกรรมในไตรมาส 1 ปีนี้ที่ยังได้รับผลกระทบจากโควิด-19
อก. เผยดัชนีอุตสาหกรรมเดือน ม.ค.64 ปรับตัวดีขึ้น 6.03% จากเดือน ธ.ค.63 โดยเพิ่มขึ้นทั้งระดับการผลิต และอัตราการใช้กำลังการผลิต
อก. เผยโครงการกระตุ้น ศก. ของรัฐ และการได้รับวัคซีน สร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคและนักลงทุน ชี้อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันโควิด-19 ยังคงขยายตัวต่อเนื่อง
ธนาคารโลก เผยข้อมูล "รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย" ฉบับล่าสุด ผ่าน Facebook Live ภายใต้หัวข้อ “Restoring Incomes; Recovering Job”