3 - 4 of 79 Articles
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ไทย ปี 2564 ประจำไตรมาสที่ 2 และแนวโน้มไตรมาสที่ 3 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
สถานการณ์อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าของไทยในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีการขยายตัวทั้งด้านการผลิต การบริโภค และนำเข้า โดยคาดการณ์ว่าจะยังคงขยายตัวได้ดีในไตรมาสถัดไป
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวมกว่า 1.34 แสนล้านเหรียญ ส่งออกขยายตัว 31.8% ในขณะที่นำเข้าขยายตัว 47.95 % เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ เกินดุลเกือบ 2 พันล้านเหรียญ
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ไทย ปี 2564 ประจำไตรมาสที่ 1 และแนวโน้มไตรมาสที่ 2 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 1 สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
สถานการณ์อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าของไทยในไตรมาสที่ 1 ปี 2564 มีการขยายตัวทั้งด้านการผลิต การบริโภค และนำเข้า โดยคาดการณ์ว่าจะยังคงขยายตัวในไตรมาสถัดไป
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวมกว่า 1.27 แสนล้านเหรียญ ส่งออกกลับมาขยายตัว 2.3% ในขณะที่นำเข้ายายตัว 9.4 % เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ เกินดุลราว 500 ล้านเหรียญ
ในไตรมาสที่ 4 ปี 2563 ปริมาณการผลิตขยายตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อนจากตลาดในประเทศ แต่ตลาดส่งออกยังคงชะลอตัว
สถานการณ์อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าของไทยในไตรมาสที่ 4 ปี 2563 มีการขยายตัวทั้งด้านการผลิต จำหน่าย และนำเข้า และคาดการณ์การผลิตเหล็กจะทรงตัวในไตรมาสถัดไป
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวมกว่า 1.13 แสนล้านเหรียญ ส่งออกหดตัว 2% ในขณะที่นำเข้าหดตัว 4.2% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ เกินดุล 3 พันล้านเหรียญ
สถาบัน NEA โดย กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ เตรียมจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตร "ความรู้เบื้องต้นในการประกอบธุรกิจส่งออก" รุ่นที่ 139 ผ่านระบบ Zoom Webinar 15-19 มีนาคมนี้
กรมเจรจาฯ แนะผู้ประกอบการเร่งศึกษาอัตราภาษีศุลกากรประเทศสมาชิก RCEP สร้างความได้เปรียบให้สินค้าไทย ก่อนความตกลงมีผลบังคับใช้
การผลิตรถยนต์ในไตรมาสที่ 3 ปี 2563 ปริมาณการผลิตลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากตลาดในประเทศและส่งออกชะลอตัวจากผลกระทบโควิด-19
MPI เหล็กไตรมาสที่ 3 ปี 2563 หดตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ปัจจัยสำคัญจากการผลิตผลิตภัณฑ์ในกลุ่มเหล็กทรงยาวและเหล็กทรงแบนที่หดตัวลง
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวมกว่า 1.07 แสนล้านเหรียญ ส่งออกหดตัว 7.8% ในขณะที่นำเข้าหดตัว 19.0% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ เกินดุล 9.9 พันล้านเหรียญ
MPI เหล็กไตรมาสที่ 2 ปี 2563 หดตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน จากการผลิตผลิตภัณฑ์ในกลุ่มเหล็กทรงยาวและเหล็กทรงแบนหดตัว
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวม 9.66 หมื่นล้านเหรียญ ส่งออกหดตัว 17.6% ในขณะที่นำเข้าหดตัว 23.6% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ เกินดุล 6.8 พันล้านเหรียญ
ปริมาณการผลิตรถจักรยานยนต์ของไทยในไตรมาสที่ 1 ปี 2563 มีปริมาณการผลิตชะลอตัวเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยเป็นการชะลอตัวของตลาดในประเทศและตลาดส่งออกจากเศรษฐกิจในประเท…
การผลิตรถยนต์ในไตรมาสที่ 1 ปี 2563 มีปริมาณการผลิตลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากตลาดในประเทศและส่งออกชะลอตัวจากผลกระทบของไวรัสโควิด-19 ในหลายประเทศทั่วโลก ส…
การผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ในไตรมาสที่ 1 ปี 2563 ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.7 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 ส่งผลให้ประชากรส่วนใหญ่ Work From …
การผลิตสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าในไตรมาสที่ 1 ปี 2563 ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.9 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันกับปีก่อน เนื่องจาก สถานการณ์ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้การผลิตที…