3 - 25 of 491 Articles
รมต. อุตฯ เร่ง สมอ. ออกมาตรฐานรองรับอุตสาหกรรมแห่งอนาคต หลังบอร์ด กมอ. เห็นชอบมาตรฐานหุ่นยนต์ไปแล้ว 6 มาตรฐาน พร้อมตั้งเป้ากำหนดมาตรฐานใหม่เป็น 1,300 มาตรฐาน ตามนโยบาย Quick win
สศอ. เผยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) พฤษภาคม 2567 อยู่ที่ระดับ 98.34 หดตัวร้อยละ 1.54 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน
อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กำหนดทิศทางการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันภาคอุตสาหกรรม ตามนโยบาย RESHAPE THE FUTURE : โลกเปลี่ยน อุตสาหกรรมปรับ พร้อมรับอนาคต ผ่านกลยุทธ์การปรับตัวให้ก้าวทันอุตสาหกรรมยุคใหม่
โอกาสของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะไทยในตลาดโลก...ตอนที่ 4 กรณีศึกษา: แผนพัฒนาแห่งชาติระยะ 4 ปี (ปี 2021 - 2024) ของไต้หวัน: โอกาสใหม่ในการพัฒนาอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
สศอ.เผยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) เมษายน 2567 อยู่ที่ระดับ 90.34 ขยายตัวร้อยละ 3.43 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน กลับมาขยายตัวเป็นครั้งแรกหลังหดตัวต่อเนื่อง 18 เดือน
สศอ. เผยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม MPI เม.ย. 2567 พลิกขยายตัวร้อยละ 3.43 หลังหดตัวต่อเนื่อง 18 เดือนติด
สสว. เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME เดือนมีนาคม 2567 อยู่ที่ระดับ 53.0 ลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 จากภาวะเศรษฐกิจและกำลังซื้อที่ชะลอตัวลง
กนอ.ชี้ RCEP โอกาสทองของไทย ก้าวสู่ศูนย์กลางการลงทุนโลก “Investment Connect” เชื่อมโยงการลงทุนจากทั่วโลกสู่ประเทศไทย พร้อมเปิดพื้นที่รองรับการลงทุนด้วยระบบสาธารณูปโภคครบครัน
สศอ. เผยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม MPI มี.ค. 67 อยู่ที่ระดับ 104.06 หดตัวร้อยละ 5.13 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน หดตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 18
รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศปี 2567 เป็น "ปีแรกของบริษัทขนาดกลาง" มุ่งเน้นสนับสนุนการลงทุนในประเทศและการควบรวมกิจการ M&A หวังเป็นกุญแจสำคัญฟื้นเศรษฐกิจประเทศ
รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศปี 2567 เป็น "ปีแรกของบริษัทขนาดกลาง" มุ่งเน้นสนับสนุนการลงทุนในประเทศและการควบรวมกิจการ M&A หวังเป็นกุญแจสำคัญฟื้นเศรษฐกิจประเทศ
อีอีซี ลงนามความร่วมมือ เขตพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีเทียนจิน (TEDA) ในหลายด้าน อาทิ การขนส่งท่าเรือ, การพัฒนาอุตสาหกรรมสีเขียวและคาร์บอนต่ำ, การพัฒนาทักษะทรัพยากรมนุษย์ เพื่อดึงนักลงทุนจีนร่วมลงทุนในพื้นที่ อีอีซี
ภาพรวมขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทยในปัจจุจัยเฉลี่ยทั้ง 9 ด้าน อยู่ใน “ระดับปานกลาง” ท่ามกลางความผันผวนของเศรษฐกิจโลกที่มีความเปราะบาง ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจไทยที่ยังอยู่ในช่วงฟื้นตัว
สศอ. เผยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม MPI ก.พ. 67 อยู่ที่ระดับ 99.27 ในช่วง 2 เดือนแรกของปี 2567 หดตัวเฉลี่ย 2.88
ยอดจดทะเบียนใหม่ (ป้ายแดง) ยานยนต์ไฟฟ้าในเดือนกุมภาพันธ์ 2567 BEV 6,335 คัน ลดลงร้อยละ 15.94, HEV 11,991 คัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 51.38, และ PHEV 894 คัน ลดลงร้อยละ 28.42 โดยเทียบเป็นรายปี
เศรษฐกิจโลกปี 2566 ชะลอตัวอย่างต่อเนื่อง สะท้อนจากภาคการผลิตที่ชะลอตัวทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศพัฒนาแล้ว ขณะที่แนวโน้มในปี 2567 ที่ยังคงชะลอตัวลงจากความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจที่เพิ่มสูง…
ส.อ.ท. เปิดเผยปริมาณการจดทะเบียนรถยนต์ไฟฟ้าและรถจักรยานยนต์ไฟฟ้า BEV, PHEV, และ HEV ของประเทศไทยในเดือนมกราคม 2567
เบิกฤกษ์..มกราคม 2567 ต่างชาติลงทุนในไทย 7,171 ล้านบาท ญี่ปุ่นลงทุนอันดับหนึ่ง 3,793 ล้านบาท ตามด้วย สิงคโปร์ 1,083 ล้านบาท และจีน 768 ล้านบาท จ้างงานคนไทย 172 คน
ส.อ.ท. เปิดเผยปริมาณการจดทะเบียนใหม่ (ป้ายแดง) รถยนต์ไฟฟ้าและรถจักรยานยนต์ไฟฟ้า BEV, PHEV, และ HEV ของประเทศไทยในเดือนธันวาคม 2566
การ์ทเนอร์คาดการณ์มูลค่าตลาดไอทีทั่วโลกปี 2567 เติบโตเพิ่มขึ้นคิดเป็นมุลค่ารวม 5 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ขณะที่ประเทศไทยจะเติบโตเพิ่มขึ้น 5.8% เทียบจากปีนี้ คิดเป็นมูลค่า 1 ล้านล้านบาท