
3D Printing: เทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติ สำหรับอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล
การพิมพ์ 3 มิติ ถูกหยิบยกขึ้นมาเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีที่มีอนาคต เพราะมีโอกาสสูงในการนำมาใช้งานจริง และมีตลาดรองรับ โดยเฉพาะการนำมาการพิมพ์ 3 มิติ มาใช้กับอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล
การพิมพ์ 3 มิติ ถูกหยิบยกขึ้นมาเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีที่มีอนาคต เพราะมีโอกาสสูงในการนำมาใช้งานจริง และมีตลาดรองรับ โดยเฉพาะการนำมาการพิมพ์ 3 มิติ มาใช้กับอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล
ปอร์เช่ ประกาศความสำเร็จในการพิมพ์ลูกสูบเครื่องยนต์ประสิทธิภาพสูงสำหรับ Porsche 911 GT2 RS ซึ่งใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีจาก ZEISS
“อัครินทร์ เหมอยู่” ผู้บริหารหนุ่มจากบริษัทเซราไทย มองเห็นโอกาสอะไรในยุค Digitalization ซึ่งการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
BMW Group เปิดตัว Additive Manufacturing Campus อย่างเป็นทางการแล้ว เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2020 ณ เมืองมิวนิค เยอรมนี ด้วยเงินลงทุน 15 ล้านยูโร เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเทคโนโลยี 3D…
คณะวิจัยจากเยอรมนี เผยโฉมเทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติ ที่ก้าวข้ามข้อจำกัดเดิม เพื่อการชิ้นงานขนาดเล็กได้อย่างแม่นยำระดับไมครอน และสามารถผลิตได้ด้วยความเร็วสูงอีกด้วย
General Electric ดัน เทคโนโลยีการผลิตแบบ Additive Manufacturing ด้วยเครื่องยนต์อากาศยานรุ่นใหม่จาก Metal 3D Printer ที่มีชิ้นส่วนเพียง 12 ชิ้น พร้อมติดตั้งในอากาศยานจริง
OPM250L เครื่องพิมพ์โลหะ 3 มิติความแม่นยำสูง จะมาเปลี่ยนแนวทางการผลิตแม่พิมพ์ให้ต่างไปจากเดิม ด้วยการรวมกระบวนการหลายขั้นตอนไว้ในเครื่องเดียว ช่วยให้ Cycle Time ลดลง และจำนวนชิ้นส่วนของแม่พิมพ์ลดลง
BigRep ผู้ผลิตเครื่องพิมพ์ 3 มิติ เปิดตัว “LOCI Podcar” รถยนต์ไฟฟ้าขนาดเล็กจาก 3D Printer โชว์ศักยภาพ Additive Manufacturing ในอุตสาหกรรมยานยนต์
PTSC ร่่วม MTEC และ Renishaw Thailand เชิญชวนนักอุตสาหกรรมเข้าร่วมสัมมนาทางเลือกใหม่เพื่ออุตสาหกรรมการผลิตด้วย Metal Additive Manufacturing / 3D-Printing in the Tooling (Mould and…
ประธาน และรองประธานแห่ง JMTBA (Japan Machine Tool Builders' Association) ถกทิศทางใหม่ของอุตสาหกรรมการผลิต ในงาน IMTS 2018
การใช้จ่ายสำหรับงาน 3D Printing คาดว่าจะเพิ่มขึ้นถึง 3.6 พันล้านเหรียญสหรัฐภายในปี พ.ศ. 2564 ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดยมีอัตราการเติบโตเฉลี่ย 5 ปีที่ 22.4%