ศูนย์วิจัยอุตฯ ยานยนต์สมัยใหม่ เผย ต.ค. 63 รถยนต์ xEV จดทะเบียน 3,367 คัน
เดือนตุลาคม 2563 มีรถยนต์ไฟฟ้าจดทะเบียนใหม่ (ป้ายแดง) 3,367 คัน เพิ่มขึ้น 29% ซึ่งเป็นการเพิ่มขึ้น 3 เดือนติดต่อกัน
เดือนตุลาคม 2563 มีรถยนต์ไฟฟ้าจดทะเบียนใหม่ (ป้ายแดง) 3,367 คัน เพิ่มขึ้น 29% ซึ่งเป็นการเพิ่มขึ้น 3 เดือนติดต่อกัน
ก. พาณิชย์ เผย ภาวะการค้าต่างประเทศในเดือนพฤศจิกายน 2563 ฟื้นตัวต่อเนื่อง การส่งออกหดตัวน้อยลงที่ 3.65% (YoY) ขณะที่การนำเข้าหดตัว 0.99% (YoY)
ในเดือนพฤศจิกายน 2563 มีการผลิตรถจักรยานยนต์ 214,011 คัน ลดลง 8.81% จากช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว แต่ผลิตเกิน 2 แสนคันต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 นับแต่มีการระบาดของโควิด-19
เดือนพฤศจิกายน 2563 มีมูลค่าส่งออก 68,529.59 ลบ. เพิ่มขึ้น 6.30% จากช่วงเดียวกันปีก่อน
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นในเดือนพฤศจิกายน 2020 ทั่วโลกมีมูลค่ารวม 845 ล้านเหรียญ เพิ่มขึ้น 8.0% จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า
ในเดือนพฤศจิกายน 2563 มีการผลิตรถยนต์เกิน 1.7 แสนคัน เพิ่มขึ้นในรอบ 19 เดือน จากสงครามการค้าเมื่อปีก่อนและการระบาดของโควิด โดยเพิ่มขึ้นทั้งส่งออกและยอดขายในประเทศ
รถยนต์ในประเทศมียอดขายในเดือน พ.ย.63 รวมจำนวน 79,177 คัน เพิ่มขึ้น 2.7% จากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว โดยยอดขายรถกระบะตัวเลขเพิ่มขึ้น 3 เดือนต่อเนื่อง
เผยรายงาน 10 อันดับประเทศน่าลงทุนในสายตาญี่ปุ่นจากผู้ตอบแบบสอบถาม 1,529 บริษัท ซึ่งมีธุรกิจในอุตสาหกรรมการผลิต 67.6% ที่ร่วมตอบแบบสอบถาม
Japan Forming Machinery Association เผยยอดสั่งซื้อเครื่องขึ้นรูปโลหะ (Metal Forming Machine) ประจำเดือนพฤศจิกายน 2020 ปิดที่ 191 ล้านเหรียญ ลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 21
ผลสำรวจบริษัทญี่ปุ่นขนาดกลางและขนาดเล็ก ชู “เวียดนาม” น่าลงทุนอันดับหนึ่ง ต่อเนื่อง 7 ปีซ้อน ด้วยตลาดมีศักยภาพในการเติบโตสูง ค่าแรงต่ำ มีความมั่นคงทางการเมือง
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลเยอรมันไตรมาสที่ 3 ปี 2020 ลดลง 29% จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่แล้ว โดยมียอดสั่งซื้อในประเทศลดลง 26% และจากต่างประเทศลดลง 30%
สศอ. เผยตัวเลขภาพรวมอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์และชิ้นส่วนใน Q3 ยังคงอยู่ในภาวะหดตัว คาด Q4 จะมีการผลิต 450,000 คัน โดยส่วนใหญ่เป็นการผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศ
ภาพรวมอุตฯ พลาสติกใน Q3 ดัชนีผลผลิตและดัชนีการส่งสินค้าหดตัว แต่ปริมาณการส่งออกขยายตัวเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันปีก่อน สาเหตุจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในประเทศคู่ค่าหลัก
การผลิตรถยนต์ในไตรมาสที่ 3 ปี 2563 ปริมาณการผลิตลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากตลาดในประเทศและส่งออกชะลอตัวจากผลกระทบโควิด-19
คาดการณ์ อุตสาหกรรมไฟฟ้าไตรมาสที่ 4 ดัชนีผลผลิตและมูลค่าการส่งออกจะปรับตัวเป็นบวกได้ที่ 6.4% และ 3.0% ตามลำดับ ผลจากปริมาณคำสั่งซื้อที่เพิ่มขึ้นจากทั้งในและต่างประเทศ
MPI เหล็กไตรมาสที่ 3 ปี 2563 หดตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ปัจจัยสำคัญจากการผลิตผลิตภัณฑ์ในกลุ่มเหล็กทรงยาวและเหล็กทรงแบนที่หดตัวลง
BOI เผยผลสำรวจความเชื่อมั่นนักลงทุนต่างประเทศในไทยประจำปี 2563 จำนวน 600 บริษัท นักลงทุนส่วนใหญ่มั่นใจศักยภาพประเทศไทย
สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาส 3 ดัชนี MPI หดตัว 8.3% โดยปัจจัยสำคัญมาจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว รวมถึงผลกระทบจากโควิด-19
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวมกว่า 1.07 แสนล้านเหรียญ ส่งออกหดตัว 7.8% ในขณะที่นำเข้าหดตัว 19.0% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ เกินดุล 9.9 พันล้านเหรียญ
อก. เผย MPI เดือน ต.ค. ขยายตัวจากเดือนก่อนร้อยละ 0.45 คาดปีหน้า MPI และ GDP ภาคอุตฯ จะกลับมาขยายตัวเป็นบวก