ยอดผลิตรถจักรยานยนต์ 2564 เดือน ส.ค. รวม 1.2 แสนคัน ลดต่ำกว่าเดือนก่อน
เดือนสิงหาคม 2564 ไทยมีตัวเลขการผลิตรถจักรยานยนต์ รวมทั้งสิ้นเพียง 120,674 คัน ลดต่ำกว่าเดือนก่อน และต่ำกว่าช่วงเดียวกันในปีก่อน
เดือนสิงหาคม 2564 ไทยมีตัวเลขการผลิตรถจักรยานยนต์ รวมทั้งสิ้นเพียง 120,674 คัน ลดต่ำกว่าเดือนก่อน และต่ำกว่าช่วงเดียวกันในปีก่อน
ดัชนีนวัตกรรมโลก ไทยแซงเวียดนาม เข้าป้ายอันดับ 43 และครองแชมป์อันดับ 1 ของโลกด้านสัดส่วนการลงทุน R & D องค์กรธุรกิจ เป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน
เดือนกรกฎาคม 2564 มีปริมาณรถยนต์ไฟฟ้าจดทะเบียนใหม่ (ป้ายแดง) ของรถ xEV จำนวนทั้งสิ้น 2,238 คัน ลดลง 62% (YoY) จากเดือนก่อนหน้า
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทยปี 2564 ประจำเดือนสิงหาคม และยอดเฉลี่ยรวม 8 เดือน
ส.อ.ท. เผยดัชนีเชื่อมั่นอุตสาหกรรม ส.ค. 64 อยู่ที่ 76.8 ลดลงจากระดับ 78.9 ในเดือนก่อนหน้า ต่ำสุดรอบ 16 เดือน ปรับตัวลดลงทุกภูมิภาคและทุกขนาดอุตสาหกรรม
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทย ปี 2564 ไตรมาส 2 และแนวโน้มไตรมาส 3 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
ตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่เดือนกรกฎาคม 2564 รวมทั่วประเทศ 225 โรงงาน โดยจังหวัดชลบุรีมีจำนวนโรงงานเปิดใหม่มากที่สุด 27 แห่ง เงินทุนรวม 951.79 ล้านบาท
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมไฟฟ้า ปี 2564 ไตรมาส 2 และแนวโน้มไตรมาส 3 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เผยสถานการณ์อุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์และชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ในไตรมาสที่ 2/2564
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ไทย ปี 2564 ประจำไตรมาสที่ 2 และแนวโน้มไตรมาสที่ 3 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
ในเดือน ก.ค. 64 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลก ปิดที่ 1,230 ล้านเหรียญ โต 93.4% YoY ผู้ผลิตเครื่องจักรเริ่มประสบปัญหาขาดแคลนหลายชิ้นส่วน คาดกระทบยาว
อุตสาหกรรมพลาสติกไตรมาส 2/2564 ดัชนีผลผลิต-ส่งสินค้าไตรมาสสอง หดตัวลงจากไตรมาสก่อน แต่ยังขยายตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้ว
รายงานตัวเลขคาดการณ์ตลาด 3D Vision System หรือระบบจับภาพแบบ 3 มิติ
สถานการณ์อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าของไทยในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีการขยายตัวทั้งด้านการผลิต การบริโภค และนำเข้า โดยคาดการณ์ว่าจะยังคงขยายตัวได้ดีในไตรมาสถัดไป
ดัชนี MPI ก.ค. 64 อยู่ที่ระดับ 91.41 เพิ่มขึ้น 5.12% รถยนต์และเครื่องยนต์, ชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์, ผลิตภัณฑ์ยางอื่น ๆ, เม็ดพลาสติก และน้ำตาล ปรับตัวสูงกว่าปี 2563
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวมกว่า 1.34 แสนล้านเหรียญ ส่งออกขยายตัว 31.8% ในขณะที่นำเข้าขยายตัว 47.95 % เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ เกินดุลเกือบ 2 พันล้านเหรียญ
สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ดัชนี MPI หดตัว 7.1% จากไตรมาสก่อนหน้า
การผลิตรถยนต์ในเดือนกรกฎาคม 2564 ลดลงอีก 8% จากเดือนก่อนหน้า หลังผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยานยนต์ยังคงเผชิญปัญหาขาดแคลนชิป และชิ้นส่วนรถยนต์บางชิ้น
ในเดือนกรกฎาคม 2564 ยอดขายรถยนต์ในประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 52,442 คัน ต่ำสุดรอบ 7 เดือน สาเหตุจากการล็อกดาวน์ วิกฤตชิปและชิ้นส่วนขาดตลาด และอนุมัติสินเชื่อเข้ม
เดือนกรกฎาคม 2564 อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนไทย มีมูลค่าส่งออกรวม 72,267.97 ล้านบาท ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่ส่งออกได้ 78,566.12 ล้านบาท