ส่งออกไทย 2564 เดือน ก.ย. ขยายตัว 17% จากเดือนเดียวกันปีก่อน
สถานการณ์ส่งออกในเดือนกันยายน 2564 ไทยยังคงรักษาตัวเลขส่งออกเหนือระดับ 2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8 ขยายตัวที่ 17.1%
สถานการณ์ส่งออกในเดือนกันยายน 2564 ไทยยังคงรักษาตัวเลขส่งออกเหนือระดับ 2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8 ขยายตัวที่ 17.1%
ดัชนี MPI ก.ย. 64 ฟื้นแล้ว อยู่ที่ระดับ 93.72 เพิ่มขึ้น 7.49% (YoY) อิเล็กทรอนิกส์ เคมีภัณฑ์ เม็ดพลาสติก รถยนต์อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องใช้ไฟฟ้า ปรับตัวสูงกว่าปี 2563
ในเดือนกันยายน 2564 ไทยผลิตรถจักรยานยนต์รวม 154,877 คัน ส่งสัญญาณบวก รับเปิดประเทศ ภาพรวม 9 เดือนแรกทำยอดผลิตได้ 1.67 ล้านคัน เพิ่มขึ้น 19.56%
ยอดขายคอมพิวเตอร์และโน้ตบุ๊กทั่วโลกในไตรมาสที่ 3 ของปีนี้ ปิดที่ 86,652,000 เครื่อง เพิ่มขึ้น 3.9% จากช่วงเดียวกันปีก่อนหน้า Lenovo ยังคงครองแชมป์อันดับ 1
การผลิตรถยนต์ในเดือนกันยายน 2564 เพิ่มขึ้น 34.47% จากเดือนก่อน เหตุโรงงานได้รับชิปและชิ้นส่วนรถยนต์จากประเทศคู่ค้าที่ผ่อนคลายล็อกดาวน์ จึงผลิตเพื่อส่งออกและผลิตขายในประเทศเพิ่มขึ้น
ในเดือนกันยายน 2564 ยอดขายรถยนต์ในประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 56,871 คัน เพิ่มขึ้น 34.84% ผลจากการคลายล็อกทำให้ผู้ซื้อมั่นใจ และโรงงานสามารถผลิตรถได้เพิ่มขึ้นจากการนำเข้าชิป-ชิ้นส่วน
เดือนกันยายน 2564 อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนไทย มีมูลค่าส่งออกรวม 71,346.67 ล้านบาท ฟื้นจากเดือนก่อนหน้าที่ส่งออกได้เพียง 63,194.94 ล้านบาท และยังปรับตัวดีขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อน
เดือนสิงหาคม 2564 มีปริมาณรถยนต์ไฟฟ้าจดทะเบียนใหม่ (ป้ายแดง) จำนวนทั้งสิ้น 3,684 คัน เพิ่มขึ้น 32% (YoY) จากเดือนก่อนหน้า
จากแนวโน้มการเติบโตของรถยนต์ไฟฟ้าซึ่งได้แรงหนุนจากความพยายามลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนที่ทั่วโลกเร่งดำเนินการ ทำให้ “แบตเตอรี่ไฟฟ้าสำหรับยานยนต์” เป็นอีกตลาดที่ถูกจับตามอง
ส.อ.ท. เผยดัชนีเชื่อมั่นอุตสาหกรรม ก.ย. 64 อยู่ที่ 79.0 เพิ่มขึ้นจากระดับ 76.8 ในเดือนก่อนหน้า ฟื้นตัวครั้งแรกในรอบ 6 เดือน หลังสถานการณ์โควิดในประเทศดีขึ้น
บีโอไอ เผย ภาวะการส่งเสริมการลงทุน 9 เดือน ปี 2564 รวมกว่า 5 แสนล้านบาท อุตสาหกรรมไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์-การแพทย์ โตต่อเนื่อง ขณะที่การลงทุน FDI เติบโตกว่า 200%
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทยปี 2564 ประจำเดือนกันยายน และยอดเฉลี่ยรวม 9 เดือน
ตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่เดือนสิงหาคม 2564 รวมทั่วประเทศ 255 โรงงาน โดยจังหวัดชลบุรีมีจำนวนโรงงานเปิดใหม่มากที่สุด 29 แห่ง เงินทุนรวม 1,869.59 ล้านบาท
ในเดือน ส.ค. 64 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลก ปิดที่ 1,130 ล้านเหรียญ เพิ่มขึ้น 85.2% YoY ขณะที่ ยอดสั่งซื้อจากไทยสูงเป็นอันดับ 1 ของอาเซียน และติดอันดับ 4 ของเอเชีย
พิษโควิด ฉุดดัชนี MPI ส.ค. 64 อยู่ที่ระดับ 87.71 หดตัว 4.15% (YoY) แต่หลายอุตสาหกรรม อาทิ อิเล็กทรอนิกส์ ผลิตภัณฑ์ยาง เหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน เม็ดพลาสติก ปรับตัวสูงกว่าปี"63
สถานการณ์ส่งออกในเดือนสิงหาคม 2564 ไทยยังคงรักษาตัวเลขส่งออกเหนือระดับ 2.1 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6 ขยายตัวที่ 8.93%
สมาคมเครื่องจักรกลญี่ปุ่น ปรับตัวเลขคาดการณ์ยอดสั่งซื้อปี 2021 จะปิดที่ 13,240 ล้านเหรียญ เพิ่มขึ้น 60.8% สะท้อนการลงทุนที่ฟื้นตัว โดยเฉพาะอุตฯ แม่พิมพ์ทำสถิติเดือน ส.ค.สูงสุดรอบ 5 ปี
การผลิตรถยนต์ในเดือนสิงหาคม 2564 ลดลงอีก 15.44% จากเดือนก่อน เหลือเพียงแสนคันเศษ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยานยนต์ยังคงเผชิญปัญหาขาดแคลนชิปและชิ้นส่วนอย่างต่อเนื่อง
ในเดือนสิงหาคม 2564 ยอดขายรถยนต์ในประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 42,176 คัน ลดต่ำสุดรอบ 15 เดือน เหตุเผชิญหลายมรสุมพร้อมกัน
เดือนสิงหาคม 2564 อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนไทย มีมูลค่าส่งออกรวม 63,194.94 ล้านบาท ลดลงต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้า ที่ส่งออกได้ 72,267.97 ล้านบาท