
รถไฟเข็นไฮสปีดอีสาน ตอกเข็มครึ่งทาง-สายสีแดงทดลองวิ่ง มิ.ย. 64
ตอกเข็ม "รถไฟความเร็วสูงไทย-จีน ช่วงภาชี-โคราช" โดย ร.ฟ.ท. เตรียมเซ็นสัญญา 7 ผู้รับเหมา ลอตแรก 5.9 หมื่นล้าน หลังรายงานผลกระทบ EIA ผ่าน คชก. แล้ว รอเพียงคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมอนุมัติ
ตอกเข็ม "รถไฟความเร็วสูงไทย-จีน ช่วงภาชี-โคราช" โดย ร.ฟ.ท. เตรียมเซ็นสัญญา 7 ผู้รับเหมา ลอตแรก 5.9 หมื่นล้าน หลังรายงานผลกระทบ EIA ผ่าน คชก. แล้ว รอเพียงคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมอนุมัติ
หลักสูตรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบบออนไลน์ด้านการประยุกต์ใช้ LORA TECHNOLOGY โดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (DIP) มี 5 modules เมื่อเข้าร่วมฝึกอบรมครบตามเกณฑ์ สามารถขอรับคำปรึกษาเพิ่มเติม หรือขอฝึกปฏิบัติได้
การใช้โรบอทในโรงงานส่งผลกระทบต่อการจ้างงานอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ มีงานวิจัยระบุถึงความสัมพันธ์ของจำนวนหุ่นยนต์ มีผลต่ออัตราการจ้างงาน และค่าแรงงาน รวมถึงความได้เปรียบเชิงธุรกิจ
PPP ระบบขนส่งสาธารณะเชื่อม EEC มูลค่า 1.4 หมื่นลบ. เป็นงบช่วงก่อสร้าง 7.6 ลบ. ช่วงเปิดบริการ 3.9 ลบ. และค่าบำรุงรักษา 2.9 ลบ.
ภาพรวมโปรเจกต์รถไฟไทยทั่วประเทศ โครงข่ายรถไฟทางคู่ รถไฟฟ้าสายสีแดง และรถไฟความเร็วสูง
BTS ปีนี้ รอเซ็นสัญญา 2 โครงการ คือ งานระบบเก็บเงินมอเตอร์เวย์ 2 สาย และสัญญาสัมปทานสายสีเขียว นอกจากนี้ จ่อคิวประมูลสายสีส้ม 23 ก.ย.นี้
นโยบายและมาตรการเพื่อผลักดันอุตสาหกรรมระบบรางจากโปรเจกต์รถไฟไทยทั่วประเทศ รู้ก่อน พร้อมก่อน ไม่ตกขบวน
การรถไฟแห่งประเทศไทยเผยข้อมูลโครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน ส่วนต่อขยาย ระยอง-จันทบุรี-ตราด ในการประชุม Market sounding เมื่อ 24 ก.ค. 63
corethailand.org จัดแคมเปญ ขึ้นทะเบียน "ผู้ประกอบการเครื่องจักรอัตโนมัติและหุ่นยนต์" ไม่มีค่าใช้จ่าย ภายใน 30 ก.ย.63 (จากปกติ 2500 บ.)
Isuzu, Hino, Fuso, และ UD Trucks ร่วมรัฐบาลญี่ปุ่น พัฒนาขบวนรถบรรทุกอัตโนมัติ (Truck Platooning System) มุ่งเข้าสู่ตลาดในปี 2021
Mr. Hiroshi Osagawara ผู้รับตำแหน่งประธานคนใหม่ Japan Robot Association ให้สัมภาษณ์ถึงความเป็นไปและปัญหาของอุตสาหกรรมหุ่นยนต์หลังโควิด
มาตรการพิเศษเพื่อส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมนำหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติมาใช้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตในโรงงาน
6 ผู้ผลิตหุ่นยนต์อุตสาหกรรมญี่ปุ่นร่วมสถาบันวิจัยและภาคการศึกษาก่อตั้ง ROBOCIP เพื่อวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีพื้นฐานหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
ม.ค.-มิ.ย. 63 โครงการยื่นขอรับการส่งเสริมตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต รวม 88 โครงการ แบ่งเป็นประหยัดพลังงาน 67 โครงการ และปรับเปลี่ยนเครื่องจักร 21 โครงการ
งาน Logistics Behind the Success of Business จัดขึ้นเมื่อ 17 ส.ค. 63 ภายใต้โครงการ DBD Service x Logistics Startup
ขบวนรถบรรทุกอัตโนมัติ เชื่อมต่อเชื่อมรถบรรทุก 2 คันขึ้นไปเข้าด้วยกัน เพื่อให้สามารถวิ่งเป็นขบวนได้โดยอัตโนมัติตลอดการเดินทาง คือแนวทางที่กำลังได้รับความสนใจจากค่ายรถในขณะนี้
ผู้ผลิตอาหารสัตว์ ต้องการหาผู้ผลิตและวางระบบ Automation ทั้งระบบในโรงงาน เช่น ASRs, Rack, Automation Cranes, Belt Conveyor
ส.อ.ท. ผนึกภาคเอกชน จัดอบรม Lean Automation ระหว่างวันที่ 9 กันยายน - 8 ตุลาคม นี้ ณ ศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมฯ (ITC)
การรถไฟฯ จัดประชุมระดมความเห็นการจัดตั้ง บริษัทเดินรถ, บริษัทซ่อมบำรุงโครงสร้างพื้นฐาน (ทางและอาณัติสัญญาณโทรคมนาคม) และบริษัทซ่อมบำรุงรางและล้อเลื่อนการรถไฟฯ เพื่อลดอุปสรรคการดำเนินงาน
การจัดซื้อรถจักรดีเซลไฟฟ้า 50 คันนี้เป็นส่วนหนึ่งของแผนเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ และสร้างรายได้ ซึ่งจะรองรับโครงการรถไฟทางคู่ที่จะทยอยเปิดใช้งานในอนาคตอีกด้วย
แจ้งเกิดเทคโนโลยีในอุตฯ โลจิสติกส์ โต 7 เท่าภายใน 5 ปี ศูนย์วิจัย Fuji Chimera ชี้ สถานการณ์โควิดกระตุ้นความต้องการเทคฯ ช่วยเว้นระยะห่าง
กระทรวงแรงงาน ร่วม สมาคม TIFFA จัดฝึกอบรม "หลักสูตรธุรกิจการขนส่งและการค้าระหว่างประเทศ" ให้กับ 322 บัณฑิตจบใหม่ที่ว่างงานและสนใจทำงานด้านโลจิสติกส์
EEC Automation Park พัฒนาบุคลากร ด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ผ่านศูนย์การเรียนรู้ ศูนย์ฝึกอบรม และหน่วยงานประสานความร่วมมือ เปิดเต็มรูปแบบปี 2564
NR Connect เทคโนโลยีด้าน IoT ที่เข้ามาสนับสนุนผู้ประกอบการโรงงาน ได้ก้าวผ่านสู่โรงงานอัจฉริยะ Smart Factory ในอนาคตอันใกล้
วว. จัดสัมมนา “การขับเคลื่อนระบบโลจิสติกส์ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแบบ New Normal” เมื่อ 22 ก.ย. 63 โดยมี รศ.นพ.สรนิต ศิลธรรม ปลัด กท.อุดมศึกษาฯ เป็นประธาน
หุ่นยนต์อาจไม่ใช่ทุกคำตอบ เมื่อเทสล่าไม่บรรลุผลในการใช้หุ่นยนต์เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต โดยหันพึ่ง "เครื่องฉีดอะลูมิเนียมไดคาสติ้ง" เพื่อผลิตชิ้นส่วนที่ออกแบบให้เรียบง่ายขึ้นและมีจำนวนชิ้นที่น้อยลง
หลักสูตรนี้จัดขึ้นเพื่อได้รับความรู้ และหลักการในการบริหารจัดการคลังสินค้าสมัยใหม่แบบบูรณาการอย่างมีประสิทธิภาพ และนำไปปรับใช้กับคลังสินค้าขององค์กรให้ทันกับยุค 4.0
EEC Automation Park พัฒนาบุคลากร ด้านหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ผ่านศูนย์การเรียนรู้ ศูนย์ฝึกอบรม และหน่วยงานประสานความร่วมมือ เปิดเต็มรูปแบบปี 2564
กรณีศึกษาและวิธีคิดจากผู้ประกอบการเครื่องมือแพทย์ในญี่ปุ่น ตีโดนแย่งตลาดหุ่นยนต์ผ่าตัด da Vinci สหรัฐฯ แบ่งปันและสนับสนุนให้นำไปต่อยอดพัฒนาอุตฯ ไทย
การประชุมระดมสมอง เพื่อจัดทำ Technology Roadmap โดยความร่วมมือของภาครัฐ และเอกชน ภายใต้โครงการศึกษาแนวทางการยกระดับผลิตภาพและสร้างคุณค่าของภาคเศรษฐกิจไทย
โบอิ้ง (Boeing) บรรลุข้อตกลงกับผู้ผลิตในจีนและสิงคโปร์ สำหรับสายดัดแปลงอากาศยานใหม่ เพื่อรองรับออเดอร์เครื่องบินขนส่งสินค้า โดยรุ่นล่าสุด 737-800BCF มีคำสั่งซื้อแล้ว 134 ลำ
วสท. เผย ทุกประเทศต่างตื่นตัวและวางแผนการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานระบบราง ควบคู่กับการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบรางในประเทศ
แม้ว่าเหตุผลหลักในการใช้หุ่นยนต์นั้นจะเป็นการทดแทนแรงงานและลดต้นทุนการผลิต แต่สำหรับตลาด SME แล้ว ต้องเริ่มจากการสร้างความรู้ความเข้าใจ และเน้นใช้หุ่นยนต์เพิ่มประสิทธิภาพของสินค้า
มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ บุกเบิกการพัฒนา “Vegebot” หุ่นยนต์เก็บเกี่ยวพืชผลการเกษตร ปัจจุบันสามารถใช้เก็บหัวผักกาดในแปลงเกษตรได้แล้ว
โควิด คือ จุดเปลี่ยนสำคัญที่ไม่ใช่เพียงปี 2020 เท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงอนาคตหลังจากนี้ ซึ่งกลุ่มผู้ผลิตญี่ปุ่นได้ร่วมวิเคราะห์แนวโน้มของแต่ละอุตสาหกรรมในช่วงครึ่งหลังของปีงบฯ 2020
ปี 2019 ทั่วโลกมีการใช้งานหุ่นยนต์อุตสาหกรรมรวม 2.7 เครื่อง เพิ่มขึ้น 12% ติดตั้งใหม่ 3.7 แสนเครื่อง มูลค่ารวม 13.8 หมื่นล้านเหรียญ ในปี 2020 โควิดทำตลาดชะลอตัว
สุมิพล รุกคืบ ชูแนวคิด Zero Defect ลดของเสียให้เป็นศูนย์ ดันโรงงานให้มีระบบการผลิตที่ดี พร้อมกับการควบคุมคุณภาพได้ในตัวเองตลอดกระบวนการ
เพราะโควิดกระทบทุกภาคส่วนและกินเวลายาวนานเกินกว่ามรสุมลูกใด A.I. Group เผยผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรม ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในกลุ่มลูกค้า และแนวโน้มในอนาคต
รถไฟความเร็วสูง ”ฟู่ซิ่งเฮ่า” ผลิตโดยบริษัท ไชน่า เรลเวย์ คอนสตรัคชั่น คอร์ปอเรชั่น มีอายุใช้งาน 30 ปี ใน 1 ขบวนมี 8 ตู้รถไฟ จำนวนที่นั่งรวม 594 ที่นั่ง
Toyota ร่วม Hitachi และ JR East พัฒนารถไฟระบบไฮบริด ซึ่งใช้ Hydrogen Fuel Cell และแบตเตอรี่ไฟฟ้าเป็นแหล่งพลังงาน ทดสอบวิ่ง มี.ค. 2022
รถไฟความเร็วสูง กทม.-หนองคาย ระยะที่ 1 ช่วง กทม.-นครราชสีมา คืบหน้า รัฐฯ ลงนามสัญญาจ้างงานระบบราง ระบบไฟฟ้าและเครื่องกล วงเงิน 50.6 ลบ. แล้ว
MELSENSOR เครื่องอ่านบาร์โค้ดขนาดกะทัดรัด ครอบคลุมการทำงานหลากหลาย ด้วยเซนเซอร์อัจฉริยะ สู่การใช้งานที่เรียบง่าย อ่านรหัสได้อย่างแม่นยำบนเงื่อนไขต่าง ๆ
สถาบันเทคโนโลยีการผลิตสุมิพล ขอเชิญเข้าร่วมอบรม เพิ่มทักษะความรู้การออกแบบระบบอัตโนมัติต้นทุนต่ำ โดยใช้ Lean Manufacturing และ Karakuri ณ สถาบัน SIMTec ระยอง
อุตสาหกรรมระบบรางไทย คืบหน้า ล่าสุด “เอเอ็มอาร์ เอเซีย” จับมือ “โชคนำชัย ไฮ-เทค เพรสซิ่ง” พัฒนาโครงการระบบตัวรถไฟฟ้าขนาดรอง พร้อมดัน Thai Team จาก สมาคมไทยซับคอน
ในปี 2019 Service Robots ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ทั่วโลกเติบโตอย่างก้าวกระโดด ด้วยมูลค่ายอดขายที่ 11,200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 32%
Automated Warehouse ถูกยกระดับใช้เป็นยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนการเติบโตของธุรกิจ ช่วยลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพ รวมถึงขยับขยายสายผลิตภัณฑ์และขอบเขตการให้บริการ ในหลายธุรกิจ โดยเฉพาะธุร…
กรมโรงงานอุตสาหกรรม ชี้จุดแข็งพื้นที่ กว่า 1 ล้านไร่ทั่วไทยรับการลงทุน พร้อมเผยยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่ 3 จังหวัด จันทบุรี นนทบุรี และอ่างทอง
กองพัฒนาผู้ประกอบการไทย บีโอไอ เชิญชวนผู้ประกอบการอุตสาหกรรม Laser processing, Metrology, Automated Integrated Solutions ร่วมทำ JV กับบริษัทจากเยอรมนี
สถาบันไทย-เยอรมัน ร่วม สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี ขอเชิญผู้สนใจส่งข้อเสนอโครงการฯ เพื่อรับการพิจารณาคัดเลือกให้การสนับสนุนงบประมาณ รับสมัครถึง 30 ธ.ค.63
หัวข้ออบรม Autonomous & Robots การนำหุ่นยนต์หรือระบบอัตโนมัติมาใช้ในการผลิตและบริการ วันที่ 16 ธ.ค.63 นี้ จะจัดขึ้น ณ ศูนย์การเรียนรู้กระบวนการผลิตอัตโนมัติ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม