
สสว. เปิดผลสำรวจ มาตรการส่งเสริมด้านต้นทุนและค่าใช้จ่ายเป็นอันดับ 1 ที่ต้องการจากว่าที่รัฐบาล
สสว. เผยผลสำรวจความต้องการมาตรการส่งเสริม SME จากว่าที่รัฐบาล พบผู้ประกอบการต้องการความช่วยเหลือด้านต้นทุนและค่าใช้จ่ายเป็นอันดับแรก
สสว. เผยผลสำรวจความต้องการมาตรการส่งเสริม SME จากว่าที่รัฐบาล พบผู้ประกอบการต้องการความช่วยเหลือด้านต้นทุนและค่าใช้จ่ายเป็นอันดับแรก
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวมกว่า 1.43 แสนล้านเหรียญ ส่งออกหดตัว 4.46% ในขณะที่นำเข้าหดตัว 0.48% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าไตรมาสนี้ ขาดดุลถึง 3 พันล้านเหรียญ
ภาพรวมเศรษฐกิจโลกในไตรมาส 1/2566 ขยายตัวต่อเนื่อง โดยเฉพาะเศรษฐกิจจีน ขยายตัวสูงสุดรอบ 4 ไตรมาส ขณะที่ เศรษฐกิจของประเทศอาเซียนมีทิศทางชะลอลง ตามการลดลงของการผลิตภาคอุตสาหกรรม และส…
ในเดือนพฤษภาคม 2566 ไทยผลิตรถจักรยานยนต์ทั้งสิ้น 218,886 คัน ฟื้นจากเดือนก่อนหน้า รวม 5 เดือนแรก ผลิตแล้ว 1,074,266 คัน
เดือนพฤษภาคม 2566 อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนไทย มีมูลค่าส่งออก 80,004.13 ล้านบาท ปรับตัวเพิ่มขึ้น 7.74% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าของไทยไตรมาส 1 ปี 2566 การผลิตหดตัวต่อเนื่องทั้งเหล็กทรงยาวและทรงแบน เช่น เหล็กลวด เหล็กเส้นกลม และเหล็กแผ่นเคลือบดีบุก เป็นต้น
สถานการณ์อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทย ปี 2566 ไตรมาสที่ 1 และแนวโน้มไตรมาสที่ 2 จากข้อมูลโดย สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สสว. เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME เดือนพฤษภาคม 2566 ชะลอตัวลง อยู่ที่ระดับ 53.0 เหตุผู้ประกอบการมีความกังวลต้นทุนสูงขึ้น โดยเฉพาะค่าไฟฟ้า น้ำมันเชื้อเพลิง
สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาสที่ 1 ปี 2566 ดัชนี MPI หดตัว 3.9% จากไตรมาสเดียวกันปีก่อน
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปิดเผยแนวโน้มอุตสาหกรรม ปี 2566 ไตรมาสที่ 2 ภาพรวมคาดว่าอุตสาหกรรมสำคัญส่วนใหญ่จะยังคงขยายตัวเพิ่มขึ้น
สศอ. เผยดัชนี MPI พ.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 94.80 หดตัว 3.14% (YoY) ส่งสัญญาณชะลอลดลงจากเดือนก่อนหน้า ท่องเที่ยวฟื้น หนุนดีมานด์สินค้าอุตฯ - การผลิตรถยนต์เพิ่มขึ้น
กกร. คงตัวเลขคาดการณ์ GDP ปี 2566 ขยายตัว 3.0 - 3.5% ปรับส่งออกหดตัว 2% เงินเฟ้อลดลงอยู่ในกรอบ 2.2 - 2.7% ปัจจัยลบจากการส่งออก-การผลิตชะลอตัวตามทิศทางเศรษฐกิจโลก
สถานการณ์ส่งออกไทยเดือนพฤษภาคม 2566 ตัวเลขส่งออกอยู่ที่ระดับ 2.4 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ หดตัว 4.6% (YoY) ลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8
ตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่เดือนพฤษภาคม 2566 รวมทั่วประเทศ 143 โรงงาน โดยสมุทรปราการ มีโรงงานเปิดใหม่มากที่สุด 18 แห่ง และมีเงินทุนรวมกว่า 611.01 ล้านบาท
บีโอไอเผยยอดขอรับการส่งเสริมการลงทุน 2566 ครึ่งปีแรก 364,420 ล้านบาท กลุ่มอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ ลงทุนสูงสุด กว่า 1.6 แสนล้านบาท เพิ่มขึ้น 7 เท่า
สถานการณ์อุตสาหกรรมไฟฟ้า ไตรมาส 1 และแนวโน้มไตรมาส 2 ปี 2566 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สถานการณ์อุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์และชิ้นส่วนไทย ปี 2566 ไตรมาส 1 และแนวโน้มไตรมาส 2 จากข้อมูลโดย สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สถานการณ์อุตสาหกรรมพลาสติกไตรมาส 1/2566 ดัชนีผลผลิต-ส่งสินค้า หดตัว 7.53% และ 11.52% ตามลำดับ จากไตรมาสเดียวกันปีก่อน
สถานการณ์อุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ไทย ปี 2566 ไตรมาส 1 และแนวโน้มไตรมาส 2 จากข้อมูลโดย สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สภาอุตฯ จับมือ ธนาคารออมสิน สนับสนุนผู้ประกอบการ SMEs - Startup 2,000 ราย ก้าวเข้าสู่แหล่งเงินทุน นำร่องให้ความรู้ เสนอบริการทางการเงิน 10 จังหวัด
ภาวะเงินเฟ้อที่พุ่งสูงในช่วง 2 ปีนี้ ทำให้ Gen Z หันไปใช้เงินสดเป็นเครื่องมือในการจัดทำงบประมาณ แนวโน้มที่คาดไม่ถึงนี้ชี้ให้เห็นถึงความน่าดึงดูดใจของเงินสดในการจัดการการเงินส่วนบุคคล
ม.หอการค้าไทย เผย TCC Confidence Index เดือนมิถุนายน 2566 อยู่ที่ 55.2 เพิ่มขึ้น 1.6 การท่องเที่ยวยังเป็นปัจจัยสำคัญ ที่ส่งผลให้ค่าดัชนีฯ ปรับเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง 13 เดือน
สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (EEI) วิเคราะห์ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ไทย หากมีการขึ้นค่าจ้างของแรงงานในอุตสาหกรรมดังกล่าว จากค่าจ้างเริ่มต้นปัจจุบัน 341 บาทต่อวัน เป็น 450 บาทต่อวัน
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทยปี 2566 ประจำเดือนมิถุนายน และยอดเฉลี่ยรวม 6 เดือน
ยอดขายรถยนต์ของจีนเร่งตัวขึ้น 8.8% ในครึ่งแรกของปี 2023 เผยให้เห็นแนวโน้มรถยนต์ไฟฟ้าและความท้าทายในการเติบโตที่ช้าลง
ครึ่งปีแรก 2566 ต่างชาติลงทุนในไทยกว่า 48,927 ล้านบาท ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อน 21,022 ล้าน หรือ 30% ประเทศญี่ปุ่นลงทุนอันดับหนึ่ง 17,527 ล้าน ขณะที่ตัวเลขจ้างงานคนไทยรวมกว่า 3,222 คน
ม.หอการค้าไทย เผยผลการศึกษา การวิเคราะห์ส่งออกไทยครึ่งหลังปี 2566 “ภายใต้การเมืองที่ไม่แน่นอน” ท่ามกลางปัจจัยเสี่ยง-ประเด็นที่ต้องติดตาม อาทิ สถานการณ์เศรษฐกิจโลกชะลอตัว ต้นทุนการผลิตที่ยังอยู่ในระดับสูง
อีอีซี เปิดรับฟังความเห็น (ร่าง) แผนภาพรวมเพื่อการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2566 – 2570 (ระยะ 2) วางเป้า 5 ปี สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ การลงทุน สังคม และคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมในเดือนมิถุนายน 2566 อยู่ที่ระดับ 94.1 ปรับเพิ่มขึ้นครั้งแรกในรอบ 3 เดือน จากระดับ 92.5 ในเดือนพฤษภาคม ปัจจัยบวกจากการภาคการท่องเที่ยวขยายตัว
การผลิตรถยนต์ในเดือนมิถุนายน 2566 รวมทั้งสิ้น 145,557 คัน เพิ่มขึ้น 1.78% จากช่วงเดียวกันปีก่อน รวมครึ่งปีแรก ผลิตแล้ว 921,512 คัน
ในเดือนมิถุนายน 2566 ยอดขายรถยนต์ในประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 64,440 คัน ลดลง 1.04% จากเดือนก่อนหน้า และลดลง 5.16% จากเดือนเดียวกันปีก่อน
สภาอุตสาหกรรมฯ ปรับประมาณการการผลิตรถยนต์ของสมาชิกกลุ่มยานยนต์ในปี 2566 ลดลงเหลือ 1,900,000 คัน
โตโยต้าครองอันดับหนึ่งยอดขายรถยนต์ ครึ่งปีแรก ด้วยส่วนแบ่งตลาด 33.7% ตามด้วยอีซูซุ และฮอนด้า
โตโยต้าแถลงยอดขายรถยนต์ 2566 ครึ่งปีแรก พร้อมคาดการณ์ตลาดรวมทั้งปี 855,000 คัน โดยตั้งเป้าประมาณการขายโตโยต้าที่ 291,000 คัน เผยแนวโน้มยานยนต์ไทยครึ่งปีหลัง ยังคงฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป
สศอ. เผยดัชนี MPI มิ.ย. 66 อยู่ที่ระดับ 92.53 ลดลง 5.24% (YoY) ภาพรวมครึ่งปีแรก ลดลง 4.60% ยานยนต์ พลาสติกและยางสังเคราะห์ขั้นต้น จักรยานยนต์ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม และน้ำตาล ปรับตัวสูงกว่าปี 2565
ส.อ.ท. เปิดผลสำรวจ FTI Poll ผู้บริหาร ส.อ.ท. 258 ท่าน จากทุกกลุ่มอุตสาหกรรม มีความกังวลต่อการจัดตั้งรัฐบาลล่าช้า จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยในครึ่งปีหลัง
บ่ายวันที่ 29 มิ.ย. ค่าเงินเยนร่วงลงไปแตะระดับ 144 เยนต่อดอลลาร์ ซึ่งเป็นจุดต่ำสุดในช่วง 7 เดือน บทความนี้พาสำรวจว่าแต่ละบริษัทมองอัตราแลกเปลี่ยนในอนาคตและผลกระทบต่อธุรกิจอย่างไร
สถานการณ์ส่งออกไทยเดือนมิถุนายน 2566 ตัวเลขส่งออกอยู่เหนือระดับ 2.4 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ หดตัว 6.4% (YoY) ภาพรวมครึ่งแรกของปี หดตัวร้อยละ 5.4 (YoY)
เดือนมิถุนายน 2566 อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนไทย มีมูลค่าส่งออก 81,676.62 ล้านบาท ปรับตัวเพิ่มขึ้น 17.37% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน
ในเดือนมิถุนายน 2566 ไทยผลิตรถจักรยานยนต์ทั้งสิ้น 232,431 คัน ภาพรวม 6 เดือนแรกทำยอดผลิตได้ 1.3 ล้านคัน สูงกว่าช่วงเดียวกันปีก่อน
กกร. คงตัวเลขคาดการณ์ GDP ปี 2566 ขยายตัว 3.0 - 3.5% ปรับส่งออกหดตัว 2% ปัจจัยลบจากการส่งออก-การผลิตชะลอตัวตามทิศทางเศรษฐกิจโลก
การนำเข้าเหล็กของจีนที่หลั่งไหลเข้ามาในตลาดไทยทำให้เกิดความกังวลต่ออุตสาหกรรมเหล็กในประเทศ ส่งผลให้การผลิตเหล็กไทยลดลง 14.7% ในช่วง 5 เดือนแรกของปี ตามรายงานล่าสุดของสถาบันเหล็ก
กิจเจริญ เอ็นจิเนียริ่ง อีเลคทริค ฟันกำไร Q2/66 ที่ 39.61 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 17.71% (QoQ) หลังยอดขายสินค้าเพิ่มขึ้น ราคาวัตถุดิบปรับตัวลดลง ใช้ Industry 4.0 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
อาเซียนถกประเทศคู่เจรจา ติดตามความคืบหน้าการจัดทำแผนงานด้านเศรษฐกิจอาเซียน+3 สำหรับปี 2566 - 2567 เตรียมชงรัฐมนตรีเศรษฐกิจ ส.ค.นี้
แอลจี อีเลคทรอนิคส์ สร้างสถิติผลประกอบการไตรมาส 2/2023 กวาดรายได้ทะลุ 20 ล้านล้านวอน สูงสุดเป็นประวัติการณ์นับตั้งแต่ก่อตั้งบริษัท
ม.หอการค้าไทย เผย TCC Confidence Index เดือนกรกฎาคม 2566 อยู่ที่ 55.6 เพิ่มขึ้น 0.4 ได้ปัจจัยบวกจากการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยว - ภาคธุรกิจเริ่มฟื้นตัวบางส่วน
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม แถลงผลสําเร็จการยกระดับศักยภาพผู้ประกอบการและธุรกิจอุตสาหกรรมกว่า 28,000 ราย ดันมูลค่าทางเศรษฐกิจครึ่งปีแรกโตกว่า 5,000 ล้านบาท
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทยปี 2566 ประจำเดือนกรกฎาคม และยอดเฉลี่ยรวม 7 เดือน
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมในเดือนกรกฎาคม 2566 อยู่ที่ระดับ 92.3 ต่ำสุดในรอบ 10 เดือน หนี้ครัวเรือน - ค่าครองชีพสูง ฉุดความต้องการสินค้าอุตสาหกรรมลดลง
การผลิตรถยนต์ในเดือนกรกฎาคม 2566 รวมทั้งสิ้น 149,709 คัน เพิ่มขึ้น 4.72% จากช่วงเดียวกันปีก่อน รวม 7 เดือนแรก ผลิตแล้ว 1,071,221 คัน