ดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME เดือนกันยายน 2563 ปรับเพิ่มขึ้น ปัจจัยบวกจากมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐและกำลังซื้อที่เพิ่มขึ้นในทุกภูมิภาค
อก. เผย MPI เดือน ต.ค. ขยายตัวจากเดือนก่อนร้อยละ 0.45 คาดปีหน้า MPI และ GDP ภาคอุตฯ จะกลับมาขยายตัวเป็นบวก
กรมโรงงานฯ เผย เดือนตุลาคม 2563 มีโรงงานจดทะเบียนใหม่ทั่วประเทศ 182 รง. ชลบุรีมีจำนวนโรงงานใหม่มากที่สุด ขณะที่อุบลราชธานีมีเงินทุนรวมสูงสุดกว่า 3,000 ลบ.
กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปิดเผยแนวโน้มอุตสาหกรรมในไตรมาส 4 ปีนี้ที่ยังได้รับผลกระทบจากโควิด-19
สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาส 3 ดัชนี MPI หดตัว 8.3% โดยปัจจัยสำคัญมาจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว รวมถึงผลกระทบจากโควิด-19
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวมกว่า 1.07 แสนล้านเหรียญ ส่งออกหดตัว 7.8% ในขณะที่นำเข้าหดตัว 19.0% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ เกินดุล 9.9 พันล้านเหรียญ
กกร. ปรับประมาณการ GDP ดีขึ้น แม้ภาวะเศรษฐกิจไตรมาสที่ 4 แผ่วลงเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า ผลกระทบจากโควิดที่กลับมาระบาดหนักในหลายประเทศ
BOI เผยผลสำรวจความเชื่อมั่นนักลงทุนต่างประเทศในไทยประจำปี 2563 จำนวน 600 บริษัท นักลงทุนส่วนใหญ่มั่นใจศักยภาพประเทศไทย
คาดการณ์ อุตสาหกรรมไฟฟ้าไตรมาสที่ 4 ดัชนีผลผลิตและมูลค่าการส่งออกจะปรับตัวเป็นบวกได้ที่ 6.4% และ 3.0% ตามลำดับ ผลจากปริมาณคำสั่งซื้อที่เพิ่มขึ้นจากทั้งในและต่างประเทศ
MPI เหล็กไตรมาสที่ 3 ปี 2563 หดตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน ปัจจัยสำคัญจากการผลิตผลิตภัณฑ์ในกลุ่มเหล็กทรงยาวและเหล็กทรงแบนที่หดตัวลง
ภาพรวมอุตฯ อิเล็กทรอนิกส์ในไตรมาสที่ 3/2563 เพิ่มขึ้นจากไตรมาสที่แล้ว 10% แต่ลดลงเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันปีก่อน 3.6%
การผลิตรถยนต์ในไตรมาสที่ 3 ปี 2563 ปริมาณการผลิตลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน เนื่องจากตลาดในประเทศและส่งออกชะลอตัวจากผลกระทบโควิด-19
สศอ. เผยตัวเลขภาพรวมอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์และชิ้นส่วนใน Q3 ยังคงอยู่ในภาวะหดตัว คาด Q4 จะมีการผลิต 450,000 คัน โดยส่วนใหญ่เป็นการผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศ
หากทำ FTA ไทย-อียู ประโยชน์ คือ GDP ไทยขยายตัวระยะยาว มูลค่าการค้าจะเพิ่มขึ้น ลดต้นทุนการผลิตของอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง แต่มีผลกระทบต่อยารักษาโรคและเมล็ดพันธุ์พืช
ภาพรวมอุตฯ พลาสติกใน Q3 ดัชนีผลผลิตและดัชนีการส่งสินค้าหดตัว แต่ปริมาณการส่งออกขยายตัวเมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันปีก่อน สาเหตุจากการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในประเทศคู่ค่าหลัก
ม.หอการค้าไทย เผยดัชนี TCC Confidence Index เพิ่มขึ้น 6 เดือนติดต่อกัน ผลจากมาตรการคนละครึ่ง และ GDP Q3 ที่ปรับตัวดีขึ้น
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นในเดือนพฤศจิกายน 2020 ทั่วโลกมีมูลค่ารวม 845 ล้านเหรียญ เพิ่มขึ้น 8.0% จากช่วงเดียวกันของปีก่อนหน้า
เผยรายงาน 10 อันดับประเทศน่าลงทุนในสายตาญี่ปุ่นจากผู้ตอบแบบสอบถาม 1,529 บริษัท ซึ่งมีธุรกิจในอุตสาหกรรมการผลิต 67.6% ที่ร่วมตอบแบบสอบถาม
ในเดือนพฤศจิกายน 2563 มีการผลิตรถยนต์เกิน 1.7 แสนคัน เพิ่มขึ้นในรอบ 19 เดือน จากสงครามการค้าเมื่อปีก่อนและการระบาดของโควิด โดยเพิ่มขึ้นทั้งส่งออกและยอดขายในประเทศ
รถยนต์ในประเทศมียอดขายในเดือน พ.ย.63 รวมจำนวน 79,177 คัน เพิ่มขึ้น 2.7% จากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว โดยยอดขายรถกระบะตัวเลขเพิ่มขึ้น 3 เดือนต่อเนื่อง
ส.อ.ท. เผยดัชนีเชื่อมั่นอุตสาหกรรม พ.ย. 63 อยู่ที่ 87.4 ปรับขึ้นจากระดับ 86.0 ในเดือนก่อน ชงรัฐยืดมาตรการกระตุ้น ศก. ถึงปี 64 เร่งเบิกจ่ายงบ ดูแลค่าเงินบาท
ในเดือนพฤศจิกายน 2563 มีการผลิตรถจักรยานยนต์ 214,011 คัน ลดลง 8.81% จากช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว แต่ผลิตเกิน 2 แสนคันต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 นับแต่มีการระบาดของโควิด-19
เดือนพฤศจิกายน 2563 มีมูลค่าส่งออก 68,529.59 ลบ. เพิ่มขึ้น 6.30% จากช่วงเดียวกันปีก่อน
หอการค้าไทย แถลงข่าวประมาณภาวะเศรษฐกิจไทยปี 2564 เชื่อตัวเลขจะกลับมาขยายตัวเป็นบวกได้อีกครั้งในไตรมาสที่ 2 ปีหน้า ขณะที่ GDP ปี 2563 จะอยู่ที่ -6.3%
ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ หอการค้าไทย เผยผลวิจัย 10 อันดับธุรกิจดาวรุ่งปี 2564 โดยธุรกิจบริการทางการแพทย์และความงาม และธุรกิจ E-Commerce ครองแชมป์ธุรกิจดาวรุ่งอันดับ 1
อก. เผย MPI เดือน พ.ย. พลิกฟื้นครั้งแรกในรอบ 19 เดือนขยายตัวร้อยละ 0.35 ชี้จับตาดูสถานการณ์โควิด-19
ตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่ทั่วประเทศ เดือนพฤศจิกายน 2563 รวม 199 รง. ชลบุรีมีจำนวนโรงงานใหม่มากที่สุด ขณะที่อยุธยามีเงินทุนรวมสูงกว่า 12,000 ลบ.
แม้ภาพรวมการใช้สิทธิประโยชน์ทางการค้าภายใต้ FTA และ GSP 9 เดือนแรกของปี 63 ลดลง แต่การใช้สิทธิฯ ส่งออกอาหาร ยังคงขยายตัวต่อเนื่อง
กกร. ปรับประมาณการ GDP ขยายตัวในกรอบ 1.5% ถึง 3.5% ส่งออกขยายตัวเพียง 3.0% ถึง 5.0% ภายใต้เงื่อนไขคุมโควิดได้ใน 3 เดือน
สถานการณ์โควิดน่าห่วง รัฐบาลญี่ปุนยกเลิกนโยบายสนับสนุนการท่องเที่ยว ห้ามชาวต่างชาติเข้าประเทศ ผลสำรวจธุรกิจญี่ปุ่นรับมือโควิดปีนี้เน้น WFH ประเมินฟื้นตัวปี 2022
GWM จัดแคมเปญ Get to know Thai Consumers จับมือนิด้าโพล ชี้คนไทยพบว่าคนไทย 77.68% พร้อมเปิดรับรถยนต์ไฟฟ้า (xEV)
ยอดขายคอมพิวเตอร์และโน้ตบุ๊คทั่วโลก ตลอดปี 2020 ปิดที่ 302.6 ล้านเครื่อง เพิ่มขึ้น 13.1% จากปีก่อนหน้า Lenovo ครองแชมป์อันดับ 1 ส่วนแบ่งตลาด 24%
DITP ประเมินส่งออกไทยปี 2564 ขยายตัว 4% ขณะที่ IMF คาดเศรษฐกิจโลกขยายตัว 5.2% และ WTO คาดการณ์ขยายตัว 7.2%
ม.หอการค้าไทย เผยดัชนี TCC Confidence Index ลดลงเป็นเดือนแรก ภายหลังปรับตัวเพิ่มขึ้น 6 เดือนติดต่อกัน ผลกระทบจากโควิดระลอกใหม่
ฮอนด้า ครองอันดับ 1 ตลาดรถยนต์นั่งส่วนบุคคลปี 2563 ทำยอดจำหน่าย 93,041 คัน โดยมีส่วนแบ่งทางการตลาด 27.5% และคว้ารางวัลแบรนด์ที่น่าเชื่อถือ 9 ปีซ้อน
ม.หอการค้าไทย เผยผลการศึกษา "การวิเคราะห์ส่งออกไทย ปี 2564: ฝ่าวิกฤติโควิด?” โดยการผลิตวัคซีนโควิด -19 ได้ตามเป้าหมายเป็นปัจจัยสำคัญที่จะมีผลต่อเศรษฐกิจโลก และการส่งออกไทย
สรุปตัวเลขการผลิตรถยนต์ของประเทศไทยในปี 2563 มีจำนวนทั้งสิ้น 1,426,970 คัน ลดลง 29.14% จากปีก่อนหน้า แต่สูงกว่าเป้าการผลิตที่ตั้งไว้ 1.4 ล้านคัน
ยอดจำหน่ายรถยนต์ในประเทศ ประจำเดือนธันวาคม 2563 มีจำนวนรวม 104,089 คัน เพิ่มขึ้น 11.3% จากช่วงเดียวกันในปีก่อนหน้า ทำให้ไทยมียอดขายรถยนต์ตลอดปีที่ 792,146 คัน ลดลง 21.4%
ส.อ.ท. เผยดัชนีเชื่อมั่นอุตสาหกรรม พ.ย. 63 อยู่ที่ 85.8 ลดลงจากระดับ 87.4 ในเดือนก่อน วอนรัฐออกมาตรการช่วยผู้ประกอบการเร่งด่วน
สรุปตัวเลขการผลิตรถจักรยานยนต์ของประเทศไทยในปี 2563 มีจำนวนทั้งสิ้น 2,023,433 คัน ลดลง 20.13% จากปีก่อนหน้า
ส.อ.ท. เปิดเผยตัวเลขส่งออกของกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ในปี 2563 มีมูลค่าส่งออก 680,100.41 ลบ. ลดลง 20.91% จากช่วงเดียวกันปีก่อนหน้า
สภาอุตสาหกรรมฯ เผยประมาณการการผลิตของสมาชิกกลุ่มยานยนต์ในปี 2564 จะสูงกว่าปีที่แล้ว โดยรถยนต์จะมีการผลิตอยู่ที่ 1,500,000 คัน และรถจักรยานยนต์ 1,860,000 คัน
ธนาคารซิตี้แบงก์คาดการณ์เศรษฐกิจโลกปี 2564 ชี้ภูมิภาคเอเชียโตสูง 7.5% ค่าเงินยังผันผวน ราคาทองลง มองบวกลงทุนหุ้นวัฎจักร 5 อุตฯ สดใส พร้อมแนะนำการลงทุนใน ESG
ธนาคารโลก เผยข้อมูล "รายงานตามติดเศรษฐกิจไทย" ฉบับล่าสุด ผ่าน Facebook Live ภายใต้หัวข้อ “Restoring Incomes; Recovering Job”
TOYOTA คาดการณ์ตลาดรถยนต์ไทยปี 2564 จะมียอดขาย 850,000 – 900,000 คัน พร้อมตั้งเป้าขายโตโยต้า 280,000 - 300,000 คัน กวาดส่วนแบ่งตลาด 33.3%
GDP ของประเทศจีนในปี 2020 เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า 2.3% โดยมีการเติบโตที่โดดเด่นในอุตสาหกรรมไฮเทค และอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องมือ
อก. เผยโครงการกระตุ้น ศก. ของรัฐ และการได้รับวัคซีน สร้างความมั่นใจให้กับผู้บริโภคและนักลงทุน ชี้อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันโควิด-19 ยังคงขยายตัวต่อเนื่อง
เผย FTI Poll ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ "มุมมองของผู้บริหาร ส.อ.ท. ต่อมาตรการป้องกันโควิด-19 และการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 ระลอกใหม่"
บีเอ็มดับเบิลยู กรุ๊ป ขึ้นแท่นผู้นำตลาดรถพรีเมียมไทยปี 2563 ด้วยยอดส่งมอบรถยนต์บีเอ็มดับเบิลยูและมินิรวม 12,426 คัน กวาดส่วนแบ่งตลาด 51.2%
กรอ.เผยตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่ เดือนธันวาคม 2563 รวม 250 รง. ขณะที่ยอดจดทะเบียนทั่วประเทศ ตลอดทั้งปีเหลือแค่ 2,632 รง. จาก 3,171 รง.