
ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไทย ไตรมาส 2/2564
สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ดัชนี MPI หดตัว 7.1% จากไตรมาสก่อนหน้า
สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ดัชนี MPI หดตัว 7.1% จากไตรมาสก่อนหน้า
กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปิดเผยแนวโน้มอุตสาหกรรมในไตรมาส 3 ปีนี้ที่ยังได้รับผลกระทบจากโควิด-19 เป็นปัจจัยสำคัญ
ดัชนี MPI ก.ค. 64 อยู่ที่ระดับ 91.41 เพิ่มขึ้น 5.12% รถยนต์และเครื่องยนต์, ชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์, ผลิตภัณฑ์ยางอื่น ๆ, เม็ดพลาสติก และน้ำตาล ปรับตัวสูงกว่าปี 2563
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวมกว่า 1.34 แสนล้านเหรียญ ส่งออกขยายตัว 31.8% ในขณะที่นำเข้าขยายตัว 47.95 % เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ เกินดุลเกือบ 2 พันล้านเหรียญ
สถานการณ์อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าของไทยในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีการขยายตัวทั้งด้านการผลิต การบริโภค และนำเข้า โดยคาดการณ์ว่าจะยังคงขยายตัวได้ดีในไตรมาสถัดไป
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมไฟฟ้า ปี 2564 ไตรมาส 2 และแนวโน้มไตรมาส 3 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
อุตสาหกรรมพลาสติกไตรมาส 2/2564 ดัชนีผลผลิต-ส่งสินค้าไตรมาสสอง หดตัวลงจากไตรมาสก่อน แต่ยังขยายตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้ว
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เผยสถานการณ์อุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์และชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ในไตรมาสที่ 2/2564
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ไทย ปี 2564 ประจำไตรมาสที่ 2 และแนวโน้มไตรมาสที่ 3 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทย ปี 2564 ไตรมาส 2 และแนวโน้มไตรมาส 3 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
ตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่เดือนกรกฎาคม 2564 รวมทั่วประเทศ 225 โรงงาน โดยจังหวัดชลบุรีมีจำนวนโรงงานเปิดใหม่มากที่สุด 27 แห่ง เงินทุนรวม 951.79 ล้านบาท
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทยปี 2564 ประจำเดือนสิงหาคม และยอดเฉลี่ยรวม 8 เดือน
ส.อ.ท. เผยดัชนีเชื่อมั่นอุตสาหกรรม ส.ค. 64 อยู่ที่ 76.8 ลดลงจากระดับ 78.9 ในเดือนก่อนหน้า ต่ำสุดรอบ 16 เดือน ปรับตัวลดลงทุกภูมิภาคและทุกขนาดอุตสาหกรรม
ดัชนีนวัตกรรมโลก ไทยแซงเวียดนาม เข้าป้ายอันดับ 43 และครองแชมป์อันดับ 1 ของโลกด้านสัดส่วนการลงทุน R & D องค์กรธุรกิจ เป็นปีที่ 2 ติดต่อกัน
การผลิตรถยนต์ในเดือนสิงหาคม 2564 ลดลงอีก 15.44% จากเดือนก่อน เหลือเพียงแสนคันเศษ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยานยนต์ยังคงเผชิญปัญหาขาดแคลนชิปและชิ้นส่วนอย่างต่อเนื่อง
ในเดือนสิงหาคม 2564 ยอดขายรถยนต์ในประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 42,176 คัน ลดต่ำสุดรอบ 15 เดือน เหตุเผชิญหลายมรสุมพร้อมกัน
เดือนสิงหาคม 2564 อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนไทย มีมูลค่าส่งออกรวม 63,194.94 ล้านบาท ลดลงต่อเนื่องจากเดือนก่อนหน้า ที่ส่งออกได้ 72,267.97 ล้านบาท
เดือนสิงหาคม 2564 ไทยมีตัวเลขการผลิตรถจักรยานยนต์ รวมทั้งสิ้นเพียง 120,674 คัน ลดต่ำกว่าเดือนก่อน และต่ำกว่าช่วงเดียวกันในปีก่อน
สถานการณ์ส่งออกในเดือนสิงหาคม 2564 ไทยยังคงรักษาตัวเลขส่งออกเหนือระดับ 2.1 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6 ขยายตัวที่ 8.93%
กระทรวงอุตฯ จับมือ CPAC เครือซิเมนต์ไทย ขับเคลื่อนการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าอย่างเป็นรูปธรรม นำร่องใช้รถโม่พลังงานไฟฟ้า (EV Fleet) ในงานขนส่งคอนกรีต
พิษโควิด ฉุดดัชนี MPI ส.ค. 64 อยู่ที่ระดับ 87.71 หดตัว 4.15% (YoY) แต่หลายอุตสาหกรรม อาทิ อิเล็กทรอนิกส์ ผลิตภัณฑ์ยาง เหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน เม็ดพลาสติก ปรับตัวสูงกว่าปี"63
ตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่เดือนสิงหาคม 2564 รวมทั่วประเทศ 255 โรงงาน โดยจังหวัดชลบุรีมีจำนวนโรงงานเปิดใหม่มากที่สุด 29 แห่ง เงินทุนรวม 1,869.59 ล้านบาท
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทยปี 2564 ประจำเดือนกันยายน และยอดเฉลี่ยรวม 9 เดือน
ส.อ.ท. เผยดัชนีเชื่อมั่นอุตสาหกรรม ก.ย. 64 อยู่ที่ 79.0 เพิ่มขึ้นจากระดับ 76.8 ในเดือนก่อนหน้า ฟื้นตัวครั้งแรกในรอบ 6 เดือน หลังสถานการณ์โควิดในประเทศดีขึ้น
บีโอไอ เผย ภาวะการส่งเสริมการลงทุน 9 เดือน ปี 2564 รวมกว่า 5 แสนล้านบาท อุตสาหกรรมไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์-การแพทย์ โตต่อเนื่อง ขณะที่การลงทุน FDI เติบโตกว่า 200%
ยอดขายคอมพิวเตอร์และโน้ตบุ๊กทั่วโลกในไตรมาสที่ 3 ของปีนี้ ปิดที่ 86,652,000 เครื่อง เพิ่มขึ้น 3.9% จากช่วงเดียวกันปีก่อนหน้า Lenovo ยังคงครองแชมป์อันดับ 1
การผลิตรถยนต์ในเดือนกันยายน 2564 เพิ่มขึ้น 34.47% จากเดือนก่อน เหตุโรงงานได้รับชิปและชิ้นส่วนรถยนต์จากประเทศคู่ค้าที่ผ่อนคลายล็อกดาวน์ จึงผลิตเพื่อส่งออกและผลิตขายในประเทศเพิ่มขึ้น
ในเดือนกันยายน 2564 ยอดขายรถยนต์ในประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 56,871 คัน เพิ่มขึ้น 34.84% ผลจากการคลายล็อกทำให้ผู้ซื้อมั่นใจ และโรงงานสามารถผลิตรถได้เพิ่มขึ้นจากการนำเข้าชิป-ชิ้นส่วน
เดือนกันยายน 2564 อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนไทย มีมูลค่าส่งออกรวม 71,346.67 ล้านบาท ฟื้นจากเดือนก่อนหน้าที่ส่งออกได้เพียง 63,194.94 ล้านบาท และยังปรับตัวดีขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อน
ในเดือนกันยายน 2564 ไทยผลิตรถจักรยานยนต์รวม 154,877 คัน ส่งสัญญาณบวก รับเปิดประเทศ ภาพรวม 9 เดือนแรกทำยอดผลิตได้ 1.67 ล้านคัน เพิ่มขึ้น 19.56%
สถานการณ์ส่งออกในเดือนกันยายน 2564 ไทยยังคงรักษาตัวเลขส่งออกเหนือระดับ 2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 8 ขยายตัวที่ 17.1%
ดัชนี MPI ก.ย. 64 ฟื้นแล้ว อยู่ที่ระดับ 93.72 เพิ่มขึ้น 7.49% (YoY) อิเล็กทรอนิกส์ เคมีภัณฑ์ เม็ดพลาสติก รถยนต์อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องใช้ไฟฟ้า ปรับตัวสูงกว่าปี 2563
ตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่เดือนกันยายน 2564 รวมทั่วประเทศ 280 โรงงาน โดยจังหวัดสมุทรสาครมีจำนวนโรงงานเปิดใหม่มากที่สุด 30 แห่ง เงินทุนรวม 590.96 ล้านบาท
ส.อ.ท. เผยดัชนีเชื่อมั่นอุตสาหกรรม ต.ค. 64 อยู่ที่ 82.1 เพิ่มขึ้นจากระดับ 79.0 ในเดือนก่อนหน้า ฟื้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 อุปสงค์ในและต่างประเทศขยายตัวดี อาทิ อุตสาหกรรมยานยนต์ ไฟ…
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทยปี 2564 ประจำเดือนตุลาคม และยอดเฉลี่ยรวม 10 เดือน
การผลิตรถยนต์ในเดือนตุลาคม 2564 เพิ่มขึ้น 10% จากเดือนก่อน โดยได้อานิสงส์จากการที่ไทยได้รับชิ้นส่วนมากขึ้นจากการคลายล็อคดาวน์ของประเทศคู่ค้า
ในเดือนตุลาคม 2564 ยอดขายรถยนต์ในประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 64,462 คัน เพิ่มขึ้น 13% จากเดือนก่อน ผลจากการคลายล็อกต้นเดือนกันยา ทำให้ผู้ซื้อมั่นใจมากขึ้น
ในเดือนตุลาคม 2564 ไทยผลิตรถจักรยานยนต์รวม 192,774 คัน เพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 ภาพรวม 10 เดือนแรกทำยอดผลิตได้ 1.86 ล้านคัน เพิ่มขึ้น 15.92%
เดือนตุลาคม 2564 อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนไทย มีมูลค่าส่งออกรวม 77,346.48 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากทั้งเดือนก่อนหน้าและช่วงเดียวกันปีที่แล้ว
สถานการณ์ส่งออกในเดือนตุลาคม 2564 ไทยยังคงรักษาตัวเลขส่งออกเหนือระดับ 2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 9 ขยายตัวที่ 17.1% (YoY)
สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาสที่ 3 ปี 2564 ดัชนี MPI หดตัว 6.5% จากไตรมาสก่อนหน้า
กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปิดเผยแนวโน้มอุตสาหกรรมในไตรมาส 4 ปีนี้ที่ยังได้รับผลกระทบจากโควิด-19 เป็นปัจจัยสำคัญ
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวมกว่า 1.35 แสนล้านเหรียญ ส่งออกขยายตัว 15% ในขณะที่นำเข้าขยายตัว 41% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ ขาดดุลราว 422 ล้านเหรียญ
ดัชนี MPI ต.ค. 64 อยู่ที่ระดับ 97.99 เพิ่มขึ้น 2.91% (YoY) รถยนต์และเครื่องยนต์ ชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ น้ำมันปิโตรเลียม เฟอร์นิเจอร์ และผลิตภัณฑ์ยางอื่น ๆ ปรับตัวสูงกว่าปี 2563
ตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่เดือนตุลาคม 2564 รวมทั่วประเทศ 174 โรงงาน โดยจังหวัดสมุทรปราการมีจำนวนโรงงานเปิดใหม่มากที่สุด 19 แห่ง เงินทุนรวม 680 ล้านบาท
โพลชี้ต้นทุนผู้ผลิตที่เพิ่มขึ้น มาจากราคาน้ำมันปรับตัวสูงขึ้น รวมทั้งปัญหาตู้คอนเทนเนอร์และค่าระวางเรือ ยังเป็นปัญหาสำคัญของอุตสาหกรรมการผลิตไทย
สถานการณ์อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าของไทยในไตรมาสที่ 3 ปี 2564 มีการขยายตัวจากการผลิตผลิตภัณฑ์ในกลุ่มเหล็กทรงแบน เช่น เหล็กแผ่นรีดเย็น เหล็กแผ่นเคลือบดีบุก และเหล็กแผ่นเคลือบสังกะสี
สถานการณ์อุตสาหกรรมไฟฟ้า ปี 2564 ไตรมาส 3 และแนวโน้มไตรมาส 4 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สถานการณ์อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทย ปี 2564 ไตรมาส 3 และแนวโน้มไตรมาส 4 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สถานการณ์อุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ไทย ปี 2564 ไตรมาส 3 และแนวโน้มไตรมาส 4 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม