
สรุปยอดขายรถยนต์ ครึ่งปีแรก 2563
โตโยต้าครองอันดับหนึ่งยอดขายรถยนต์ ครึ่งปีแรก ด้วยส่วนแบ่งตลาด 28.7% ตามด้วยอีซูซุ และฮอนด้า
โตโยต้าครองอันดับหนึ่งยอดขายรถยนต์ ครึ่งปีแรก ด้วยส่วนแบ่งตลาด 28.7% ตามด้วยอีซูซุ และฮอนด้า
การรถไฟแห่งประเทศไทยเผยข้อมูลโครงการรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน ส่วนต่อขยาย ระยอง-จันทบุรี-ตราด ในการประชุม Market sounding เมื่อ 24 ก.ค. 63
นิสสัน คาดการณ์ปี 2020 จะมียอดขายยานยนต์ 4.125 ล้านคัน ลดลง 16.3% มีรายได้สุทธิ 73,650 ล้านเหรียญ และขาดทุนสุทธิ 6,300 ล้านเหรียญ
ฮอนด้า ครองอันดับ 1 ตลาดรถยนต์นั่งส่วนบุคคลในไทย คาดตลาดรวมปีนี้ อยู่ที่ 6.8 แสนคัน เน้นกลยุทธ์ด้านดิจิทัล พร้อมยกระดับบริการหลังการขาย
หอการค้าไทย ปรับประมาณการเศรษฐกิจใหม่ในปี 2563 เป็นติดลบอยู่ที่ 9.4% โดยไตรมาส 2 ต่ำสุดประวัติการณ์ติดลบที่ 15%
ภาพรวมอุตฯพลาสติกไทยเดือน มิ.ย. ราคาเม็ดพลาสติกปรับตัวดีขึ้นตามการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก แต่ส่งออกเม็ดพลาสติกครึ่งปียังติดลบ 19.5%
กกร. ปรับลดประมาณการเศรษฐกิจไทย ปี 2563 ลงมาเป็น -9.0% ถึง -7.0% ชี้เศรษฐกิจไทยขาดแรงขับเคลื่อนสำคัญจากภาคการท่องเที่ยวและการส่งออก
Panasonic Q2/2020 ยอดขายลดลงทั้ง 5 กลุ่มธุรกิจ โดย 3 ใน 5 ยังสามารถทำกำไรได้ คือ เครื่องใช้ไฟฟ้า, Life Solutions และ Industrial Solutions
การเข้าร่วม CPTPP มีต้นทุน แต่การไม่เข้าร่วมก็มีต้นทุน และการเข้าร่วมช้า ก็มีต้นทุนเช่นเดียวกัน
ที่ประชุม รมต. ศก. อาเซียน-ญี่ปุ่น สมัยพิเศษ รับรองแผนฟื้นฟู ศก. และพร้อมเดินหน้าสู่ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น ใหม่ มีผล 1 ส.ค. 63 นี้
ช่วง 6 เดือนแรกปี 2563 มี 754 โครงการที่ขอส่งเสริมการลงทุน เพิ่มขึ้น 7% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน แต่มูลค่าเงินลงทุนลดลง 17%
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นในช่วงครึ่งแรกของปี 2020 ลดลง 39.9% นับเป็นยอดต่ำสุดในรอบ 10 ปี
ม. หอการค้าไทย เผยผลการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อ FDI ไทยของผู้ประกอบการ ในงานแถลงข่าว “บุญหล่นทับหรือกรรมซ้ำเติม?...ฐานการผลิตไทยกับ CLMV หลัง COVID-19”
มาสด้าเผยตัวเลขยอดขายรถยนต์เติบโตเกือบทุกรุ่น เดือนกรกฎาคม 3,040 คัน สูงสุดในรอบ 4 เดือน นับตั้งแต่เกิดการระบาดของโควิด-19
ช่วงเดือนต.ค.62 - มิ.ย.63 มีนักลงทุนยื่นคำขอใบอนุญาตแจ้งเริ่มประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรมทั่วประเทศรวม163 ราย เพิ่มขึ้น 41 รายจากช่วงเดียวกันในปีที่แล้ว
สรุปมาตรการสนับสนุนและบรรเทาภาคธุรกิจ บีโอไอ และ ก.คลัง เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังโควิด พร้อมความเห็นและข้อเรียกร้องจากเอกชนโดยสมาคมธนาคารไทย
รง. Mazda Toyota Manufacturing ในสหรัฐฯ ได้รับงบลงทุนเพิ่มอีก 830 ล้านดอลลาร์ เพื่อรองรับยานยนต์รุ่นใหม่ และเพิ่มกำลังการผลิต
สสว. เปิดผลสำรวจสภาพคล่องธุรกิจ SME และสถานการณ์การจ้างงาน ภายหลังวิกฤตโควิด-19
การระบาดของโควิดส่งผลให้ GDP ลดลงจากปีก่อนถึง 27.8% ซึ่งเป็นการหดตัวรายไตรมาสที่รุนแรงที่สุดนับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2
ก.ค. 2563 อุตสาหกรรมยานยนต์มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นจากเดือนก่อน โดยมียอดผลิตเพิ่มขึ้น 24.59% ซึ่งเพิ่มขึ้นติดต่อกัน 3 เดือนแล้ว
ม.หอการค้าไทย เผยดัชนีความเชื่อมั่นฯ ก.ค. 63 อยู่ที่ 31.8 เพิ่มขึ้นเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน จากมาตรการผ่อนปรนทำให้ธุรกิจเริ่มกลับมาเปิดกิจการได้
ส.อ.ท. เผยดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม ก.ค. 63 อยู่ที่ 82.5 เพิ่มขึ้น 2.5 ชงรัฐขยายมาตรการช่วย SMEs ถึงสิ้นปี เร่งเบิกจ่ายงบกระตุ้นเศรษฐกิจ
ยอดขายรถยนต์เดือน ก.ค. 63 รวม 59,335 คัน ขยับขึ้น 2.28% จากเดือนที่แล้ว จักรยานยนต์มียอดขายรวม 137,023 คัน เพิ่มขึ้น 9.59%
เดือนนี้ไทยผลิตรถจักรยานยนต์ 144,230 คัน เพิ่มขึ้น 60.6% จากยอดผลิตเดือนมิ.ย. แต่หากเทียบช่วงเดียวกันของปีก่อนยังเป็นตัวเลขที่ลดลง 26.87%
ก.ค. 63 ไทยส่งออกรถยนต์สำเร็จรูป 49,564 คัน 28,848.50 ลบ., เครื่องยนต์ ชิ้นส่วนและอะไหล่ 37,341.27 ลบ. รวมทั้งสิ้น 40,645.24 ลบ.
กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เซ็น MOU ส่งเสริมบุคลากรใช้ Big Data ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
เดือนมิถุนายน 2563 มีรถยนต์ไฟฟ้าจดทะเบียนใหม่ (ป้ายแดง) 1,736 คัน ลดลง 26% (YoY) เป็นรถ HEV และ PHEV 1,647 คัน ลดลง 29% และรถ BEV 89 คัน เพิ่มขึ้น 107%
นโยบายเศรษฐกิจภายใต้นายกรัฐมนตรีชินโซ อาเบะ ต้องเจอไฟเหลือง เมื่อ GDP หดตัวถึง 27.8% ในไตรมาสสองที่ผ่านมา
ร่วมติดตามความคืบหน้าของโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) กับการลงพื้นที่ของรมต.กท.อุตสาหกรรม และคณะ
สสว. และ ธพว. เปิดรับยื่นขอสินเชื่อ “SMEs One” รอบ 2 ผ่านออนไลน์ ตั้งแต่วันที่ 24 ส.ค. 63 เป็นต้นไป ปิดรับคำขอเมื่อวงเงินยื่นขอกู้เต็ม
พาณิชย์ เผยตัวเลขส่งออกไทยเดือนกรกฎาคม หดตัว 11.37% ซึ่งหดตัวน้อยลงจากเดือนก่อนหน้า ขณะที่ตลาดสหรัฐฯ ขยายตัวต่อเนื่องเดือนที่ 2
โซนี่ เผยธุรกิจที่ทำรายได้สูงสุดในช่วงไตรมาสที่ผ่านมาและจะเป็นดาวเด่นในปี 2020 คือ “ธุรกิจเกม” ตามด้วยธุรกิจบริการด้านการเงิน ในขณะที่ ธุรกิจอื่น ๆ เช่น ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ กลับมีรายได้ถดถอย
กระทรวงอุตสาหกรรม เผย ดัชนี MPI ก.ค. ขยายตัว 3.12 % (MoM) ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 ส่งสัญญาณ ศก.ภาคอุตฯ ฟื้นตัว
Japan Forming Machinery Association เผย ในเดือน ก.ค. มียอดสั่งซื้อเครื่องขึ้นรูปโลหะรวมมูลค่า 18,510 ล้านเยน ลดลง 26.5% จากช่วงเดียวกันปีก่อนหน้า
ยอดจดทะเบียนธุรกิจจัดตั้งใหม่เดือน ก.ค. รวม 5,667 ราย สูงสุด 3 อันดับแรก 1. ก่อสร้าง 2. อสังหาริมทรัพย์ 3. ขนส่งและขนถ่ายสินค้า
ความต้องการทั่วโลกที่เริ่มฟื้นตัวในเดือน พ.ค. ที่ผ่านมา ทำให้ซัมซุงมีรายได้ดีกว่าที่คาดการณ์ไว้ โดยเฉพาะชิปหน่วยความจำจากกลุ่ม Data Center
ตามข้อมูลของเดือน ก.ค. ที่ผ่านมา การส่งออกผลิตภัณฑ์พลาสติก ขยายตัว +2.8% จากเดือนก่อนหน้า
บีโอไอ อนุมัติ 42 โครงการ หนุนไทยฐานผลิตอุตฯ การแพทย์ โดยส่วนใหญ่เป็นกิจการผลิตเครื่องมือแพทย์และชิ้นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันโควิด
การฟื้นตัวของอุตสาหกรรมโครงสร้างพื้นฐาน โทรคมนาคม และยานยนต์ ในจีนและเอเชีย ทำสถิติยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลในเดือนกรกฎาคม 2020 สูงสุดในรอบปีกว่า
สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาส 2 ดัชนี MPI หดตัว 20% โดยปัจจัยสำคัญมาจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว รวมถึงผลกระทบจากโควิด-19
Global Innovation Index: GII ปีนี้ 5 อันดับแรก ได้แก่ สวิสเซอร์แลนด์ สวีเดน สหรัฐฯ สหราชอาณาจักร และเนเธอร์แลนด์ ส่วนไทยติดอันดับ 44 จาก 131 ประเทศทั่วโลก
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวม 9.66 หมื่นล้านเหรียญ ส่งออกหดตัว 17.6% ในขณะที่นำเข้าหดตัว 23.6% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ เกินดุล 6.8 พันล้านเหรียญ
กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปิดเผยแนวโน้มอุตสาหกรรมในไตรมาส 3 ที่ยังได้รับผลกระทบจากโควิด-19
MPI เหล็กไตรมาสที่ 2 ปี 2563 หดตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน จากการผลิตผลิตภัณฑ์ในกลุ่มเหล็กทรงยาวและเหล็กทรงแบนหดตัว
เศรษฐกิจโลกในไตรมาส 2 มีแนวโน้มเข้าสู่ภาวะถดถอยจากการหดตัวของภาคเศรษฐกิจในหลายประเทศ ตลอดจน ภาพรวมปริมาณการค้า การผลิต ทั่วโลกยังคงชะลอตัว
ไทยเตรียมพื้นที่นิคมรับการย้ายฐานผลิตของนักลงทุนจีน ไต้หวัน ฮ่องกง และญี่ปุ่น โดยเฉพาะอุตฯ ผลิตอาหาร เกษตรแปรรูป และเครื่องมือแพทย์
อุตสาหกรรมไฟฟ้าน่าจะผ่านจุดต่ำสุดในไตรมาสที่ 2 นี้ โดยคาดว่าไตรมาสที่ 3 จะมีดัชนีผลผลิตและมูลค่าการส่งออกจะปรับตัวเป็นบวกได้เล็กน้อย
ภาพรวมอุตฯ อิเล็กทรอนิกส์ในไตรมาสที่ 2/2563 ตกลงเพียงเล็กน้อย และจะปรับตัวขึ้นอีกในไตรมาสถัดไป ผลจาก 5G Data Center และโครงสร้างพื้นฐานด้าน IT
กกร. ชี้เศรษฐกิจไทยพ้นจุดต่ำสุดในไตรมาส 2/2563 แต่ภาพรวมยังอ่อนแอทั้งส่งออก ท่องเที่ยว ลงทุน คาดทั้งปีหดตัว -9.0% ถึง -7.9%
สศอ. สรุปตัวเลขภาพรวมอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนใน Q2 ยังอยู่ในภาวะหดตัว คาด Q3 จะมีการผลิตรถยนต์ 200,000 คัน โดย 50-55% จะผลิตเพื่อจำหน่ายในประเทศ