
ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไทย ไตรมาส 1/2564
สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาสที่ 1 ปี 2564 ดัชนี MPI ขยายตัว 7.6% ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า
สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาสที่ 1 ปี 2564 ดัชนี MPI ขยายตัว 7.6% ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้า
กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปิดเผยแนวโน้มอุตสาหกรรมในไตรมาส 2 ปีนี้ที่ยังได้รับผลกระทบจากโควิด-19 เป็นปัจจัยสำคัญ
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวมกว่า 1.27 แสนล้านเหรียญ ส่งออกกลับมาขยายตัว 2.3% ในขณะที่นำเข้ายายตัว 9.4 % เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ เกินดุลราว 500 ล้านเหรียญ
สถานการณ์อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าของไทยในไตรมาสที่ 1 ปี 2564 มีการขยายตัวทั้งด้านการผลิต การบริโภค และนำเข้า โดยคาดการณ์ว่าจะยังคงขยายตัวในไตรมาสถัดไป
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมไฟฟ้า ปี 2564 ประจำไตรมาสที่ 1 และแนวโน้มไตรมาสที่ 2 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 1 สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทย ปี 2564 ประจำไตรมาสที่ 1 และแนวโน้มไตรมาสที่ 2 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 1 สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ไทย ปี 2564 ประจำไตรมาสที่ 1 และแนวโน้มไตรมาสที่ 2 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา 1 สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เผยสถานการณ์อุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์และชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ในไตรมาสที่ 1/2564
อุตสาหกรรมพลาสติกไตรมาส 1/2564 ดัชนีผลผลิต-ส่งสินค้าไตรมาสแรก แม้ว่าจะขยายตัวดีกว่าไตรมาสก่อน แต่ยังอยู่ในระดับต่ำกว่าช่วงเดียวกันในปีที่แล้ว
การผลิตรถยนต์ในเดือนพฤษภาคม 2564 เพิ่มขึ้น 34.32% จากเดือนก่อนหน้า และเพิ่มขึ้น 150% จากตัวเลขฐานต่ำปีก่อน
ในเดือนพฤษภาคม 2564 ยอดขายรถยนต์ในประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 55,942 คัน ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้า แต่ตัวเลขเพิ่มขึ้นหากเทียบกับปีที่แล้ว
ในเดือนพฤษภาคม 2564 ไทยมีการผลิตรถจักรยานยนต์ทั้งสิ้น 209,310 คัน เพิ่มขึ้นอีกครั้ง หลังผลิตลดลงในเดือนก่อนหน้า
เดือนพฤษภาคม 2564 อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนไทย มีมูลค่าส่งออกรวม 77,501.96 ล้านบาท เพิ่มจากเดือนก่อนหน้า ที่ทำมูลค่าได้เพียง 54,293.65 ล้านบาท
ภาวะการค้าต่างประเทศเดือนพฤษภาคม 2564 ขยายตัว 41.59% (YoY) ทำสถิติเหนือระดับ 2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4
ตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่ทั่วประเทศเดือนพฤษภาคม 2564 รวม 223 รง. เม็ดเงินลงทุนไหลสู่ 'ระยอง' จังหวัดเดียว 4.9 หมื่นล้านบาท
ดัชนี MPI พ.ค. 64 อยู่ที่ระดับ 100.47 เพิ่มขึ้น 25.84% รวม 5 เดือนแรกปีนี้ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมขยายตัว 7.97% ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์, เหล็ก, เคมีภัณฑ์, เฟอร์นิเจอร์ และบรรจุภัณฑ์กระดาษ ปรับตัวสูงกว่าปี 2562
ในเดือน พ.ค. 64 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลก ปิดที่ 1,121 ล้านเหรียญ โต 141.9% ขณะที่ไทยสั่งซื้อ 16.8 ล้านเหรียญติดอันดับ 1 อาเซียน
จากรายงาน Ericsson Mobility Report ฉบับที่ 20 คาดการณ์ยอดผู้สมัครใช้ 5G จะพุ่งขึ้นเกินกว่า 580 ล้านรายภายในสิ้นปี 2564 โดยเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 1 ล้านรายต่อวัน
ส.อ.ท. เผยดัชนีเชื่อมั่นอุตสาหกรรม มิ.ย. 64 อยู่ที่ 80.7 ลดลงจากระดับ 82.3 ในเดือนก่อนหน้า ดัชนีฯ ลดลง 3 เดือนต่อเนื่อง และต่ำสุดในรอบ 1 ปี
มาสด้าเผยส่งมอบรถยนต์รุ่นใหม่แล้วกว่า 19,000 คัน หรือเพิ่มขึ้น 23% (YoY) โดยเฉพาะรถ SUV Mazda CX-3 และ CX-30 พร้อมประกาศยุทธศาสตร์ 8 ด้าน บริหารธุรกิจในครึ่งปีหลัง
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทย เดือนมิถุนายน และไตรมาสที่ 2 ปี 2564
ยอดขายคอมพิวเตอร์และโน้ตบุ๊กทั่วโลกในไตรมาสที่ 2 ของปีนี้ ปิดที่ 83,614 ล้านเครื่อง เพิ่มขึ้น 13.2% จากช่วงเดียวกันปีก่อนหน้า
ในเดือนมิถุนายน 2564 ยอดขายรถยนต์ในประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 61,758 คัน เพิ่มขึ้น 15% (YoY) รวม 6 เดือน ขายรถได้ 373,193 คัน
การผลิตรถยนต์ในเดือนมิถุนายน 2564 ลดลง 4% จากเดือนก่อนหน้า เหตุขาดแคลนชิ้นส่วนทำให้การผลิตต้องหยุดชะงักในบางรุ่น
ในเดือนมิถุนายน 2564 ไทยมีการผลิตรถจักรยานยนต์ทั้งสิ้น 216,671 คัน เพิ่มขึ้น 141% จากช่วงเดียวกันปีก่อน โดยยังคงผลิตได้เกิน 2 แสนคันต่อเนื่อง
ครึ่งปีแรก อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนไทย มีมูลค่าส่งออกรวมกว่า 4.4 แสนล้านบาท โดยเดือนมิถุนายน 2564 ทำยอดได้ราว 7.8 หมื่นล้าน เพิ่มพันล้านจากเดือนก่อนหน้า
สถานการณ์ส่งออกในเดือนมิถุนายน 2564 ไทยสามารถรักษาตัวเลขส่งออกเหนือระดับ 2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5 ขยายตัว 43.82% และทำสถิติใหม่สูงสุดรอบ 11 ปีได้อีกครั้ง
ในเดือน มิ.ย. 64 ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลก ปิดที่ 1,203 ล้านเหรียญ โต 96.6% ขณะที่ไทยสั่งซื้อ 15.3 ล้านเหรียญติดอันดับ 1 อาเซียนต่อเนื่องเดือนที่สอง
ดัชนี MPI มิ.ย. 64 อยู่ที่ระดับ 97.73 เพิ่มขึ้น 17.58% รวมครึ่งปีแรก ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมขยายตัว 9.41%% ยานยนต์, ชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์, เหล็กและเหล็กกล้าขั้นมูลฐาน ปรับตัวสูงกว่าปี 2563
ตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่ทั่วประเทศเดือนมิถุนายน 2564 รวม 226 รง. เมืองชล เปิดโรงงานใหม่มากที่สุด ขณะที่ ราชบุรี เม็ดเงินลงทุนสูงสุด
โตโยต้าครองอันดับหนึ่งยอดขายรถยนต์ 2564 ครึ่งปีแรก ด้วยส่วนแบ่งตลาด 31.4% ตามด้วย อีซูซุ 25.0% และฮอนด้า 11.4%
ส.อ.ท. เผยดัชนีเชื่อมั่นอุตสาหกรรม ก.ค. 64 อยู่ที่ 78.9 ลดลงจากระดับ 80.7 ในเดือนก่อนหน้า ค่าดัชนีฯ ต่ำสุดในรอบ 14 เดือน เอกชนจี้รัฐปูพรมตรวจโควิดเชิงรุก ขอวัคซีน ม.33 ปล่อยสินเชื่อ SMEs
บีโอไอ เผย ภาวะการส่งเสริมการลงทุนในช่วง 6 เดือนแรก (ม.ค.-มิ.ย.) ปี 2564 มีโครงการขอรับการส่งเสริมการลงทุนจำนวน 801 โครงการ มูลค่าเงินลงทุน 386,200 ล้านบาท
ช่วง 9 เดือนของปีงบประมาณ 2564 (ต.ค.63-มิ.ย.64) ยอดขาย/เช่าพื้นที่ในนิคมฯ มีเพียง 927.09 ไร่ ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 49.59 ซึ่งได้รับผลกระทบจากการลงทุนโดยตรงจากต่างประเท…
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทยปี 2564 ประจำเดือนกรกฎาคม และยอดเฉลี่ยรวม 7 เดือน
สถานการณ์ส่งออกในเดือนกรกฎาคม 2564 ไทยยังคงรักษาตัวเลขส่งออกเหนือระดับ 2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ได้ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 6 ขยายตัวที่ 20.27%
การผลิตรถยนต์ในเดือนกรกฎาคม 2564 ลดลงอีก 8% จากเดือนก่อนหน้า หลังผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยานยนต์ยังคงเผชิญปัญหาขาดแคลนชิป และชิ้นส่วนรถยนต์บางชิ้น
ในเดือนกรกฎาคม 2564 ยอดขายรถยนต์ในประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 52,442 คัน ต่ำสุดรอบ 7 เดือน สาเหตุจากการล็อกดาวน์ วิกฤตชิปและชิ้นส่วนขาดตลาด และอนุมัติสินเชื่อเข้ม
เดือนกรกฎาคม 2564 อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนไทย มีมูลค่าส่งออกรวม 72,267.97 ล้านบาท ลดลงเล็กน้อยจากเดือนก่อนหน้าที่ส่งออกได้ 78,566.12 ล้านบาท
จับตาอุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์ไทย หลังเดือนกรกฎาคม 2564 ไทยมีการผลิตรถจักรยานยนต์ทั้งสิ้นเพียง 130,918 คัน ลดฮวบจากเดือนก่อนหน้า
สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาสที่ 2 ปี 2564 ดัชนี MPI หดตัว 7.1% จากไตรมาสก่อนหน้า
กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปิดเผยแนวโน้มอุตสาหกรรมในไตรมาส 3 ปีนี้ที่ยังได้รับผลกระทบจากโควิด-19 เป็นปัจจัยสำคัญ
ดัชนี MPI ก.ค. 64 อยู่ที่ระดับ 91.41 เพิ่มขึ้น 5.12% รถยนต์และเครื่องยนต์, ชิ้นส่วนและแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์, ผลิตภัณฑ์ยางอื่น ๆ, เม็ดพลาสติก และน้ำตาล ปรับตัวสูงกว่าปี 2563
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวมกว่า 1.34 แสนล้านเหรียญ ส่งออกขยายตัว 31.8% ในขณะที่นำเข้าขยายตัว 47.95 % เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ เกินดุลเกือบ 2 พันล้านเหรียญ
สถานการณ์อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าของไทยในไตรมาสที่ 2 ปี 2564 มีการขยายตัวทั้งด้านการผลิต การบริโภค และนำเข้า โดยคาดการณ์ว่าจะยังคงขยายตัวได้ดีในไตรมาสถัดไป
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมไฟฟ้า ปี 2564 ไตรมาส 2 และแนวโน้มไตรมาส 3 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
อุตสาหกรรมพลาสติกไตรมาส 2/2564 ดัชนีผลผลิต-ส่งสินค้าไตรมาสสอง หดตัวลงจากไตรมาสก่อน แต่ยังขยายตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีที่แล้ว
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เผยสถานการณ์อุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์และชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ในไตรมาสที่ 2/2564
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์ไทย ปี 2564 ประจำไตรมาสที่ 2 และแนวโน้มไตรมาสที่ 3 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)
สถานการณ์ของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทย ปี 2564 ไตรมาส 2 และแนวโน้มไตรมาส 3 จากข้อมูลโดยกองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.)