
ส่งออกอาหารไทยปี 63 หดตัว 4.1% ร่วงอยู่อันดับ 13 ของโลก
สภาหอการค้าฯ-สถาบันอาหาร-สภาอุตสาหกรรม เผยพิษโควิด-19 ค่าเงินบาท และอุปสรรคด้านขนส่ง ฉุดส่งออกอาหารไทยปี 63 เหลือ 9.8 แสนล้านบาท หดตัว 4.1%
สภาหอการค้าฯ-สถาบันอาหาร-สภาอุตสาหกรรม เผยพิษโควิด-19 ค่าเงินบาท และอุปสรรคด้านขนส่ง ฉุดส่งออกอาหารไทยปี 63 เหลือ 9.8 แสนล้านบาท หดตัว 4.1%
เดือนมกราคม 2564 ยอดขายรถยนต์ในประเทศมีจำนวนทั้งสิ้น 55,208 คัน ลดลง 46.96% จากเดือนก่อนหน้า ผลจากการระบาดโควิดรอบสอง ทำให้ผู้บริโภคชะลอการใช้จ่าย
ในเดือนมกราคม 2564 ไทยมีการผลิตรถจักรยานยนต์ทั้งสิ้น 219,977 คัน เพิ่มขึ้น 4.95% จากช่วงเดียวกันปีที่แล้ว โดยเพิ่มขึ้นทั้งรถจักรยานยนต์สำเร็จรูป (CBU) และชิ้นส่วนประกอบรถจักรยานยนต์ (CKD)
เดือนมกราคม 2564 มีมูลค่าการส่งออกยานยนต์ 69,780.07 ลบ. เพิ่มขึ้น 27.22% จากช่วงเดียวกันของปีที่แล้ว ตลาดเอเชีย ตะวันออกกลาง และแอฟริกา มีการขยายตัวดีขึ้น
ความต้องการสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ตลาดสหรัฐฯ และจีนพุ่งช่วงโควิด ดันไทยส่งออกเครื่องใช้ไฟฟ้าฯ ปี 2563 ขยายตัว
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกในเดือนมกราคม 2021 ปิดที่ 837 ล้านเหรียญ เพิ่มจากปีก่อนเล็กน้อย แต่เอเชียยอดซื้อรวมพุ่ง 82.5% ขณะที่ไทยซื้อเครื่องจักรเพิ่มขึ้น 3.5%
อก. เผยดัชนีอุตสาหกรรมเดือน ม.ค.64 ปรับตัวดีขึ้น 6.03% จากเดือน ธ.ค.63 โดยเพิ่มขึ้นทั้งระดับการผลิต และอัตราการใช้กำลังการผลิต
ตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่ทั่วประเทศ เดือนมกราคม 2564 รวม 205 รง. กรุงเทพมหานครมีจำนวนโรงงานใหม่มากที่สุด ขณะที่ปราจีนบุรีมีเงินทุนรวมสูงสุดกว่า 4,000 ลบ.
สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาสที่ 4 ปี 2563 ดัชนี MPI หดตัว 0.9% ปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับไตรมาสก่อนหน้าซึ่งหดตัวร้อยละ 8.1
กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปิดเผยแนวโน้มอุตสาหกรรมในไตรมาส 1 ปีนี้ที่ยังได้รับผลกระทบจากโควิด-19
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวมกว่า 1.13 แสนล้านเหรียญ ส่งออกหดตัว 2% ในขณะที่นำเข้าหดตัว 4.2% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ เกินดุล 3 พันล้านเหรียญ
สถานการณ์อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้าของไทยในไตรมาสที่ 4 ปี 2563 มีการขยายตัวทั้งด้านการผลิต จำหน่าย และนำเข้า และคาดการณ์การผลิตเหล็กจะทรงตัวในไตรมาสถัดไป
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เผยสถานการณ์ของอุตสาหกรรมไฟฟ้าประจำไตรมาสที่ 4 ปี 2563 และแนวโน้มไตรมาสที่ 1 ปี 2564
โซนี่เผยธุรกิจเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ขึ้นทำกำไรอันดับหนึ่งรับสิ้นปี คาดปิดปีงบประมาณ 2020 บริษัทฯ จะทำกำไรมากกว่าตัวเลขคาดการณ์
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เผยสถานการณ์อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไทย ประจำไตรมาสที่ 4 ปี 2563 และแนวโน้มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ไตรมาสที่ 1 ปี 2564
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกในเดือนกุมภาพันธ์ 2021 ปิดที่ 966 ล้านเหรียญ ทำสถิติสูงสุดในรอบ 19 เดือน
ในไตรมาสที่ 4 ปี 2563 ปริมาณการผลิตขยายตัวเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อนจากตลาดในประเทศ แต่ตลาดส่งออกยังคงชะลอตัว
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) เผยสถานการณ์อุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์และชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ในไตรมาสที่ 4/2563
อุตสาหกรรมพลาสติกไตรมาส 4/2563 ดัชนีผลผลิตขยายตัวเพิ่มขึ้น 1.27% เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน ขณะที่ดัชนีการส่งสินค้าหดตัว 3.32%
ในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 มีการผลิตรถยนต์ 1.55 แสนคัน เพิ่มขึ้น 4.78% จากเดือนก่อนหน้า ได้แรงหนุนจากยอดผลิตเพื่อส่งออกที่เพิ่มขึ้นถึง 5.91%
ยอดขายรถยนต์ในประเทศเดือนกุมภาพันธ์ 2564 มีจำนวนทั้งสิ้น 58,960 คัน เพิ่มขึ้น 6.80% จากเดือนก่อนหน้า หวังมอเตอร์โชว์กระตุ้นยอดขายเพิ่มขึ้น
ส.อ.ท. เผยดัชนีเชื่อมั่นอุตสาหกรรม ก.พ. 64 อยู่ที่ 85.1 ปรับตัวดีขึ้นจากระดับ 83.5 ในเดือนก่อน หลังผ่อนคลายมาตรการควบคุม COVID-19 วอนรัฐเร่งฉีดวัคซีนกลุ่มเสี่ยงสูง - อนุญาตเอกชนนำเข้าวัคซีน
ในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 ไทยมีการผลิตรถจักรยานยนต์ทั้งสิ้น 218,530 คัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อนเล็กน้อย โดยมีการผลิตเกิน 2 แสนคันต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4 นับแต่มีการระบาดของโควิด-19
เดือนกุมภาพันธ์ 2564 อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนไทย มีมูลค่าส่งออกรวม 77,405.03 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 3.99% จากช่วงเดียวกันปีก่อน
3 นวัตกรรมที่คนไทยต้องการมาที่สุดในช่วงโควิด-19 ระบาด คือ เพิ่มรายได้-ลดความเหลื่อมล้ำ-ปรับกฎระเบียบให้เอื้อต่อการทำนวัตกรรมรูปแบบใหม่
ตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่ทั่วประเทศในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 รวม 177 รง. โดยชลบุรี-สมทุรปราการมีจำนวนโรงงานใหม่มากที่สุด ขณะที่ระยองมีเงินทุนรวมสูงสุดเกือบ 3,000 ลบ.
คาดการณ์ตลาดคอมพิวเตอร์ ปี 2021 จะมีมูลค่าอยู่ที่ 357.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เพิ่มขึ้น 18.2% รับอานิสงส์ Work from Home และการศึกษาทางไกล
อก. เผยดัชนีอุตสาหกรรมเดือน ก.พ.64 ปรับตัวลดลง 1.08% จากเดือนเดียวกันปีก่อน แต่สถานการณ์การผลิตในอุตสาหกรรมสำคัญกลับมาขยายตัว ดันการส่งออกเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เผยผลสำรวจผลกระทบโควิด จากผู้ประกอบการเอสเอ็มอีและวิสาหกิจทั่วประเทศ 1,494 ราย ณ สิ้นไตรมาส 1 ปี 2564 คาดทิศทางอุตฯ ส่งสัญญาณบวก
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกในเดือนมีนาคม 2021 ปิดที่ 1,180 ล้านเหรียญ เพิ่มจากปีก่อน 65.0% ผลจาก จีน อเมริกา ยุโรป และอินเดีย
ยอดขายคอมพิวเตอร์และโน้ตบุ๊คทั่วโลก ไตรมาสที่ 1 ปี 2021 ปิดที่ 83.98 ล้านเครื่อง เพิ่มขึ้น 55.2% จากช่วงเดียวกันปีก่อนหน้า Lenovo ครองแชมป์อันดับ 1 ส่วนแบ่งตลาด 23.7%
ในเดือนมีนาคม 2564 มีการผลิตรถยนต์ 1.62 แสนคัน เพิ่มขึ้น 10.70% (YoY) ได้แรงหนุนจากยอดผลิตรถกระบะส่งออกที่ยังคงเพิ่มต่อเนื่องถึง 23.71%
เดือนมีนาคม 2564 ยอดขายรถยนต์ในประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 74,925 คัน เพิ่มขึ้น 26.01% จากเดือนก่อนหน้า ได้มอเตอร์โชว์กระตุ้นยอดขายตามคาด
ส.อ.ท. เผยดัชนีเชื่อมั่นอุตสาหกรรม มี.ค. 64 อยู่ที่ 87.3 ปรับตัวดีขึ้นจากระดับ 85.1 ในเดือนก่อน วอนรัฐล็อกดาวน์พื้นที่เสี่ยงสูงคุมโควิด-หนุนอนุญาตเอกชนนำเข้าวัคซีนเร็วขึ้น
ในเดือนมีนาคม 2564 ไทยมีการผลิตรถจักรยานยนต์ทั้งสิ้น 236,286 คัน เพิ่มมากขึ้นถึง 17.99% จากช่วงเดียวกันปีก่อน โดยยังคงผลิตเกิน 2 แสนคันต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5 นับแต่มีการระบาดของโควิด-19
เดือนมีนาคม 2564 อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนไทย มีมูลค่าส่งออกรวม 90,429.67 ล้านบาท เพิ่มขึ้นถึง 16.89% จากช่วงเดียวกันปีก่อน
อก. เผยดัชนีอุตฯ มี.ค. 64 เพิ่มขึ้น 4.12% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขยายตัวสูงสุดในรอบ 29 เดือน การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมขยายตัวต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 4
ตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่ทั่วประเทศในเดือนมีนาคม 2564 รวม 214 รง. จ้างงานเพิ่มขึ้น 5,042 คน เงินลงทุนรวม 10,251.48 ล้านบาท ต่ำสุดรอบ 9 เดือน
ส.อ.ท. เผยดัชนีเชื่อมั่นอุตสาหกรรม เม.ย. 64 ต่ำสุดในรอบ 8 เดือน อยู่ที่ 84.3 ปรับตัวลดลงจากระดับ 87.3 ในเดือนก่อนหน้า วอนรัฐเร่งฉีดวัคซีน-ออกมาตรการเยียวยา
โซนี่เผย ปีงบประมาณ 2020 ทำรายได้รวมเพิ่มขึ้น 9% และทำกำไรเพิ่มขึ้น 15%จากช่วงเดียวกันในปีก่อนหน้า ธุรกิจอันดับหนึ่ง คือ เกม ตามด้วยเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
จากสถานการณ์ชิปขาดตลาดทั่วโลก ส่งผลให้การผลิตรถยนต์ในเดือนเมษายน 2564 มีการผลิตรถยนต์ 1.04 แสนคัน ลดลงจากเดือนก่อนหน้า 35.79%
ในเดือนเมษายน 2564 ยอดขายรถยนต์ในประเทศ มีจำนวนทั้งสิ้น 58,132 คัน ลดลง 21.76% จากเดือนก่อนหน้า แต่เป็นตัวเลขเพิ่มขึ้นหากเทียบจากปีก่อน
ในเดือนเมษายน 2564 ไทยมีการผลิตรถจักรยานยนต์ทั้งสิ้นเพียง 160,357 คัน ลดลงครั้งแรก หลังผลิตเกิน 2 แสนคันต่อเนื่องนาน 5 เดือน
เดือนเมษายน 2564 อุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนไทย มีมูลค่าส่งออกรวม 54,293.65 ล้านบาท ลดลงจากเดือนก่อนหน้า ที่ทำมูลค่าถึง 90,429.67 ล้านบาท
ยอดสั่งซื้อเครื่องจักรกลญี่ปุ่นจากทั่วโลกในเดือนเมษายน 2021 ปิดที่ 1,140 ล้านเหรียญ โตต่อเนื่องเดือนที่ 6 ส่งออกฟื้นทำยอดใกล้เคียงปี 2018 ก่อนเกิดสงครามการค้า
ภาวะการค้าต่างประเทศเดือนเมษายน 2564 มูลค่าเหนือระดับ 2 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 ขยายตัว 13.09% (YoY) สอดคล้องเศรษฐกิจโลก
กระทรวงอุตฯ เผยผลการศึกษาผลิตภาพการผลิตรวม (TFP) ในช่วง 3 ปีหลัง มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 1.45% ต่อปี สะท้อนภาพความแข็งแกร่งภาคอุตสาหกรรมยังไปได้ดี
ตัวเลขโรงงานจดทะเบียนใหม่ทั่วประเทศในเดือนเมษยน 2564 รวม 232 รง. จ้างงานเพิ่มขึ้น 6,031 คน เงินลงทุนรวม 11,712.81 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้า
ดัชนี MPI เม.ย. 64 อยู่ที่ระดับ 91.88 เพิ่มขึ้น 18.46% รวม 4 เดือนแรกปีนี้ ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมขยายตัวร้อยละ 4.38 และมีอัตราการใช้กำลังผลิตอยู่ที่ร้อยละ 65.48
ส.อ.ท. เผยดัชนีเชื่อมั่นอุตสาหกรรม พ.ค. 64 อยู่ที่ 82.3 ลดลงจากระดับ 84.3 ในเดือนก่อนหน้า ดัชนีฯ ถอยลง 2 เดือนต่อเนื่อง และต่ำสุดในรอบ 11 เดือน