ดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรมไทย ประจำเดือนกันยายน 2567 อยู่ที่ระดับ 87.1 ปรับตัวลดลง จาก 87.7 ในเดือนสิงหาคม 2567 โดยมีปัจจัยด้านลบจากสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลาง
(สศอ.) เผย แนวโน้มอุตสาหกรรมรายสาขาที่สำคัญ ไตรมาสที่ 1/2567 โดยคาดการณ์หลายอุตสาหกรรมอยู่ในแนวโน้มหดตัวและชะลอตัว
สถานการณ์การค้าต่างประเทศของไทยในไตรมาสที่ 1 ปี 2567 มีมูลค่าทั้งสิ้น 146,465.74 ล้านเหรียญสหรัฐฯ คิดเป็นมูลค่าการส่งออก 70,995.29 ล้านเหรียญสหรัฐฯ หดตัวร้อยละ 0.24 เมื่อเทียบกับ ช่วงเดียวกันของปีก่อน (YOY)
ภาพรวมเศรษฐกิจโลกในไตรมาสไตรมาสที่ 1 ปี 2567 ขยายตัวอย่างต่อเนื่องจากไตรมาสก่อน ตามการฟื้นตัว ทางเศรษฐกิจของประเทศหลักอย่างสหรัฐอเมริกา และสหภาพยุโรป จากการขยายตัวของอุปสงค์ภายในประเทศ
ดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรมไทย ประจำเดือนสิงหาคม 2567 อยู่ที่ระดับ 87.7 ปรับตัวลดลง จาก 89.3 ในเดือนกรกฎาคม 2567 โดยมีปัจจัยด้านลบจากอุปสงค์ในประเทศชะลอตัวลง โดยเฉพาะสินค้าคงทนประ…
BYD ตอบสนองนโยบายรัฐบาลที่กำลังแก้ปัญหาเศรษฐกิจชะลอตัว จ้างพนักงานเพิ่มขึ้น 5.8% จากปลายเดือนสิงหาคม มาอยู่ที่มากกว่า 900,000 คน กลายเป็นบริษัทที่มีพนักงานมากที่สุดในบรรดาบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์จีน
ภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไทยไตรมาสที่ 1 ปี 2567 เมื่อพิจารณาจากดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) มีค่าอยู่ที่ 100.93 ลดลงร้อยละ 3.58 เมื่อเปรียบเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปีก่อน เป็นการปรับตัวลดลงเป็นไตรมาสที่ 6 ติดต่อกัน
สถานการณ์ส่งออกไทยเดือนกรกฎาคม 2567 มีมูลค่า 25,720.6 ล้านเหรียญสหรัฐ (938,285 ล้านบาท) ขยายตัวร้อยละ 15.2 นับเป็นอัตราการเติบโตสูงสุดในรอบ 28 เดือน นับตั้งแต่เดือนมีนาคม 2565
สถานการณ์ส่งออกไทยเดือนสิงหาคม 2567 มีมูลค่า 26,182.3 ล้านเหรียญสหรัฐ (939,521 ล้านบาท) ขยายตัวร้อยละ 7.0 หากหักสินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน ทองคำ และยุทธปัจจัย การส่งออกขยายตัวที่ร้อยละ 6.6
กกร. คาดการณ์ GDP ปี 2567 ณ เดือนกันยายน เติบโตอยู่ที่ 2.2 - 2.7% แต่การเติบโตดังกล่าวยังกระจุกตัวอยู่เฉพาะกลุ่มอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ได้เป็นการเติบโตในวงกว้าง
สสว. เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME เดือนกรกฎาคม2567 อยู่ที่ระดับ 49.9 ลดลงจากระดับ 52.0 ของเดือนก่อนหน้า ซึ่งปรับตัวลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3
หอการค้าเผย สถานการณ์เศรษฐกิจของประเทศในในปัจจุบันกำลังเผชิญกับความท้าทายและป้ญหาหลากหลายมิติ หอการค้าฯ ได้รับระดมความเห็นจากเครือข่ายเอกชนทั่วประเทศโดยมี 3 เรื่องเร่งด่วนที่ภาคเอก…
ส.อ.ท. พร้อมคณะผู้บริหาร ส.อ.ท. เข้าพบนางสาวแพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรีและคณะ เพื่อนำเสนอแนวทางกระตุ้นเศรษฐกิจยกระดับอุตสาหกรรมการผลิตไทย และขับเคลื่อนนโยบายร่วมกัน
กระทรวงอุตสาหกรรม ได้กำหนดนโยบายในการส่งเสริมและพัฒนาภาคอุตสาหกรรมไทย ให้สอดรับกับความมุ่งมั่นของรัฐบาลที่จะใช้การพัฒนาที่ยั่งยืนเป็นพลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ
ดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรมไทย ประจำเดือนกรกฎาคม 2567 อยู่ที่ระดับ 89.3 ปรับตัวเพิ่มขึ้น จาก 87.2 ในเดือนมิถุนายน 2567 โดยปรับตัวเพิ่มขึ้นครั้งแรกในรอบ 4 เดือน ตามการเพิ่มขึ้นของ…
สถานการณ์ส่งออกไทยเดือนมิถุนายน 2567 มีมูลค่า 24,796.6 ล้านเหรียญสหรัฐ (892,766 ล้านบาท) หดตัวร้อยละ 0.3 กลับมาหดตัวเล็กน้อยสาเหตุหลักจากสินค้าผลไม้เข้าสู่ช่วงท้ายของฤดูกาล จึงมีผลผลิตออกสู่ตลาดลดลง
ดีพร้อม ผนึกกำลัง ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ติดปีกอุตสาหกรรมอนาคต ด้วยเศรษฐกิจอวกาศ ผ่านเครือข่ายความร่วมมือ (DIPROM CONNECTION) ด้วยการเพิ่มโอกาสให้กับภาคอุตสาหกรรม เข้า…
กกร. คาดการณ์ GDP ปี 2567 ณ เดือนสิงหาคม เติบโตอยู่ที่ 2.2 - 2.7% โดยการส่งออกปรับกรอบการเติบโตเป็น 0.8 - 1.5% จากเดิม 0.5 - 1.5%
ส.อ.ท. เผยผลการสำรวจ FTI CEO Poll เดือนกรกฎาคม 2567 ภายใต้หัวข้อ “ทิศทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมไทยครึ่งปีหลัง” โดยสำรวจความเห็นของผู้บริหาร ส.อ.ท. จำนวน 143 ท่าน ครอบคลุม 46 กลุ่มอุต…
ดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรมไทย ประจำเดือนมิถุนายน 2567 อยู่ที่ระดับ 87.2 ปรับตัวลดลงจาก 88.5 ในเดือนพฤษภาคม 2567 เศรษฐกิจฟื้นตัวช้า ดึงดัชนีหดตัวต่อเนื่องเดือนที่ 3 แนะรัฐส่งเสริมให้ใช้สินค้าผลิตในไทย
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทยปี 2567 ประจำเดือนมิถุนายน อยู่ที่ระดับ 113.6 สูงขึ้น 4.7%
สสว. เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME เดือนเมษายน 2567 อยู่ที่ระดับ 54.1 ปรับเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ระดับ 53.0 จากอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นช่วงมหาสงกรานต์ที่มีการจัดอีเว้นท์โดยภาครัฐและภาคเอกชน
สถานการณ์ส่งออกไทยเดือนพฤษภาคม 2567 มีมูลค่า 26,219.5 ล้านเหรียญสหรัฐ (960,220 ล้านบาท) ขยายตัวร้อยละ 7.2 หากหักสินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน ทองคำ และยุทธปัจจัย ขยายตัวร้อยละ 6.5
กกร. คาดการณ์ GDP ปี 2567 ณ เดือนกรกฎาคม เติบโตอยู่ที่ 2.2 - 2.7% โดยการส่งออกปรับกรอบการเติบโตเป็น 0.8 - 1.5% จากเดิม 0.5 - 1.5%
ส.อ.ท. เผยผลสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมในเดือนพฤษภาคม 2567 อยู่ที่ระดับ 88.5 ปรับตัวลดลงจาก 90.3 ในเดือนเมษายน 2567 ทั้งนี้ความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมที่ปรับตัวลดลงเป็นผลมา…
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทยปี 2567 ประจำเดือนพฤษภาคม อยู่ที่ระดับ 113.6 สูงขึ้น 3.9%
กกร. คาดการณ์ GDP ปี 2567 เหลือ 2.2-2.7% จากเดิมที่คาดไว้ 2.8-3.3% และการส่งออกลงเหลือ 0.5-1.5% จากเดิมที่คาดไว้ 2.0-3.0% การค้าโลกและปริมาณการส่งออกชะลอตัวชัดขึ้น
สสว. เผยดัชนีความเชื่อมั่นผู้ประกอบการ SME เดือนมีนาคม 2567 อยู่ที่ระดับ 53.0 ลดลงต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 จากภาวะเศรษฐกิจและกำลังซื้อที่ชะลอตัวลง
สถานการณ์ส่งออกไทยเดือนเมษายน 2567 มีมูลค่า 23,278.6 ล้านเหรียญสหรัฐ (834,018 ล้านบาท) ขยายตัวร้อยละ 6.8 หากหักสินค้าเกี่ยวเนื่องกับน้ำมัน ทองคำ และยุทธปัจจัย ขยายตัวร้อยละ 11.4
ส.อ.ท. เผยผลสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมในเดือนเมษายน 2567 อยู่ที่ระดับ 90.3 ปรับตัวลดลงจาก 92.4 ในเดือนมีนาคม 2567 ทั้งยอดขาย คำสั่งซื้อโดยรวม ปริมาณการผลิต ต้นทุนประกอบการและผลประกอบการ
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทยปี 2567 ประจำเดือนเมษายน อยู่ที่ระดับ 113.8 เพิ่มขึ้น 3.4%
กกร. ปรับลดคาดการณ์ GDP ปี 2567 ลงเหลือ 2.2-2.7% จากเดิมที่คาดไว้ 2.8-3.3% และการส่งออกลงเหลือ 0.5-1.5% จากเดิมที่คาดไว้ 2.0-3.0% กังวลการปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำทั่วประเทศ 400 บาท จะ…
สถานการณ์ส่งออกไทยเดือนมีนาคม 2567 มีมูลค่า 24,960.6 ล้านเหรียญสหรัฐ (892,290 ล้านบาท) หดตัวร้อยละ 10.9 ครั้งแรกในรอบ 8 เดือน แต่ยังรักษาระดับการส่งออกได้ใกล้เคียงกับค่าเฉลี่ยย้อนหลัง 5 ปี
รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศปี 2567 เป็น "ปีแรกของบริษัทขนาดกลาง" มุ่งเน้นสนับสนุนการลงทุนในประเทศและการควบรวมกิจการ M&A หวังเป็นกุญแจสำคัญฟื้นเศรษฐกิจประเทศ
ส.อ.ท. เผยผลสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมในเดือนมีนาคม 2567 อยู่ที่ระดับ 92.4 ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 90.0 ในเดือนกุมภาพันธ์ คำสั่งซื้อโดยรวม ปริมาณการผลิต และผลประกอบการ ปรับตั…
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทยปี 2567 ประจำเดือนมีนาคม อยู่ที่ระดับ 112.4 เพิ่มขึ้น 2.1%
อุปสงค์ภายในประเทศยังอ่อนแอ เศรษฐกิจไทยจึงต้องการแรงกระตุ้นเพิ่มเติมจากทั้งนโยบายการคลังในการเร่งเบิกจ่ายงบประมาณและมาตรการกระตุ้นอื่นๆ และนโยบายการเงินซึ่งจะเป็นในรูปของการปรับลดอ…
สถานการณ์ส่งออกไทยเดือนกุมภาพันธ์ 2567 มีมูลค่า 23,384.9 ล้านเหรียญสหรัฐ (827,139 ล้านบาท) ขยายตัว 3.6% ต่อเนื่องเดือนที่ 7 หากไม่นับรวมสินค้าเกี่ยวเนื่องกันน้ำมัน ทองคำ และยุทธปัจจัย ขยายตัว 2.3%
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทยปี 2567 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ อยู่ที่ระดับ 111.6 เพิ่มขึ้น 1.2%
ส.อ.ท. เผยผลสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมในเดือนกุมภาพันธ์ 2567 อยู่ที่ระดับ 90.0 ปรับตัวลดลงเล็กน้อยจาก 90.6 ในเดือนมกราคม มีปัจจัยลบจากอุปสงค์ชะลอตัวทั้งตลาดในประเทศและส่งออก
การค้าต่างประเทศของไทยในปี 2566 (ม.ค.-ต.ค.) หดตัว 3.68% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน การส่งออกที่มีมูลค่าลดลง 2.72% และการนำเข้าที่มีมูลค่าลดลง 4.59% ส่งผลให้ไทยขาดดุล 6,665.00 ล้านเหรียญสหรัฐฯ
กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม (สศอ.) ระบุภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไทยในปี 2566 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (MPI) คาดว่าจะลดลงร้อยละ 4.8 เมื่อเทียบเป็นรายปี และประมาณ…
เศรษฐกิจโลกปี 2566 ชะลอตัวอย่างต่อเนื่อง สะท้อนจากภาคการผลิตที่ชะลอตัวทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศพัฒนาแล้ว ขณะที่แนวโน้มในปี 2567 ที่ยังคงชะลอตัวลงจากความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจที่เพิ่มสูง…
ม.หอการค้าไทย เผยผลการศึกษาวิเคราะห์เพื่อคาดการณ์การส่งออกไทยปี 2567 ชี้ปัจจัยบวกหนุนขยายตัวได้ 2.5% แต่ยังมีหลายปัจจัยเสี่ยงและข้อจำกัด โดยสินค้าส่งออกดาวเด่นในตลาดโลก ได้แก่ น้ำม…
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมในเดือนมกราคม 2567 อยู่ที่ระดับ 90.6 ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 88.8 ในเดือนธันวาคม 2566 จากการขยายตัวของอุปสงค์ในประเทศสะท้อนจากคำสั่งซื้อและยอดขายสินค้าที่เร่งขึ้นจากเดือนก่อนหน้า
เบิกฤกษ์..มกราคม 2567 ต่างชาติลงทุนในไทย 7,171 ล้านบาท ญี่ปุ่นลงทุนอันดับหนึ่ง 3,793 ล้านบาท ตามด้วย สิงคโปร์ 1,083 ล้านบาท และจีน 768 ล้านบาท จ้างงานคนไทย 172 คน
'พาณิชย์' เปิดเผยสรุปรายงานดัชนีราคาผู้ผลิตของไทยปี 2567 ประจำเดือนมกราคม อยู่ที่ระดับ 110.3 เพิ่มขึ้น 0.3%
สศอ. เผยดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม MPI ธ.ค. 66 อยู่ที่ระดับ 87.76 ลดลง 6.27% (YoY) ภาพรวมทั้งปี 2566 หดตัว 5.11%
การค้าต่างประเทศของไทยปี 2566 มีมูลค่ารวมกว่า 4.79 แสนล้านเหรียญ ส่งออกหดตัว 2.72% ในขณะที่นำเข้าหดตัว 4.59% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าทั้งปีขาดดุลถึง 6.66 พันล้านเหรียญ
ยอดจดทะเบียนธุรกิจจัดตั้งใหม่ปี 2566 รวม 85,300 ราย ทำสถิติสูงสุดในรอบ 10 ปี โดย 3 อันดับแรก ได้แก่ 1. อสังหาริมทรัพย์ 2. ก่อสร้าง 3. ธุรกิจในภัตตาคาร/ร้านอาหาร