
รายงานภาวะอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ของประเทศไทย เดือนเมษายน 2563
ภาพรวมอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ในเดือนเมษายน 2563 การส่งออกปรับตัวสูงขึ้นจากเดือนมีนาคม ถึง 6 เท่า ขณะที่การนำเข้าปรับตัวลดลงเล็กน้อย และเมื่อเทียบกับเดือนที่ผ่านมาดุลการค้าปรับตัวดีขึ้น
ภาพรวมอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ในเดือนเมษายน 2563 การส่งออกปรับตัวสูงขึ้นจากเดือนมีนาคม ถึง 6 เท่า ขณะที่การนำเข้าปรับตัวลดลงเล็กน้อย และเมื่อเทียบกับเดือนที่ผ่านมาดุลการค้าปรับตัวดีขึ้น
สถานการณ์โควิด-19 ส่งผลต่อดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมของไทย (MPI) ในเดือน พ.ค. 2563 หดตัวลง 23.19% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน คาดเศรษฐกิจจะดีขึ้นในเดือน มิ.ย. หลังทั่วโลกเริ่มคลายล็อกดาวน์
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เผยสถิติส่งออกไปจีนช่วง 5 เดือนแรกของปี เริ่มดีขึ้น หลังจีนผ่อนคลายมาตรการปิดเมือง ทำความต้องการสินค้าอุปโภคบริโภค และวัตถุดิบเพิ่ม พร้อม…
สภาหอการค้าญี่ปุ่น - กรุงเทพฯ เผยผลสำรวจดัชนีชี้วัดแนวโน้มทางเศรษฐกิจประจำครึ่งแรกของปี 2020 บริษัทญี่ปุ่นในไทยเผชิญกับสถานการณ์ที่ยากลำบากต่อการดำเนินธุรกิจ โดยเฉพาะช่วงเดือน เม.ย…
กกร. ปรับลดประมาณการเศรษฐกิจไทย ปี 2563 ลงมาเป็น -8% ถึง -5% ชี้การส่งออกและการท่องเที่ยวยังอยู่ภายใต้แรงกดดันจากเศรษฐกิจโลกที่ถดถอยและสถานการณ์โควิดในต่างประเทศที่ยังไม่ยุติ
กกร. จัดเสวนา CPTPP ถกผลประโยชน์ชาติ สร้างความเข้าใจให้ทุกภาคส่วน พิจารณาผลได้เสีย กระบวนการ ขั้นตอน และระยะเวลาสำหรับการเข้าร่วมเจรจาความตกลง CPTPP หวังประเทศไทยได้ประโยชน์สูงสุด
สถาบันไทย-เยอรมัน ชวนผู้ประกอบการเข้าร่วม “โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ปีงบประมาณ 2563” เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรภาคอุตสาหกรรมและบุคลากรที่เกี่ยวข้องภายในสายการผล…
สถาบันไทย-เยอรมัน ชวนอบรมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยเพื่อการบริหารจัดการและการดำเนินงานด้าน Lean IoT นำมาประยุกต์ใช้ในการสถานประกอบการเพื่อพัฒนาและปร…
เวียดนาม ออสเตรเลีย และญี่ปุ่น 3 ประเทศสมาชิก เผยผลกระทบทั้งด้านบวกและลบของการเข้าร่วม CPTPP เป็นกรณีศึกษา พร้อมคำแนะนำและสนับสนุนให้ไทยเข้าร่วมเป็นสมาชิก
ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เปิดเผยผลสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นฯ มิ.ย. 63 อยู่ที่ 31.5 เพิ่มขึ้นครั้งแรกรอบ 14 เดือน วอนรัฐออกมาตรการเยียวยาเพิ่มเติม ช่วยภาคธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากโควิดข-19
ภาคเอกชนและผู้มีจิตศรัทธาเข้าเยี่ยมชมการดำเนินงานพัฒนาชุดระบบหุ่นยนต์ฯ โครงการ “มดบริรักษ์” ช่วยบุคลกรแพทย์ ณ อาคารปฏิบัติการพื้นฐาน (ฟีโบ้) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
เอกชนชี้มาตรการรัฐเกาไม่ถูกจุด SMEs เข้าไม่ถึงเงินช่วยเหลือ 90% เหตุสถาบันการเงินไม่กล้าปลดล็อกเกณฑ์ขอกู้ หากไม่มีมาตรการใดช่วยเหลือเพิ่มเติม เชื่อว่าจากนี้จะเห็นคนตกงานมากขึ้น
ปัจจุบันไทยมี FTA รวมทั้งหมด 13 ฉบับ และมีความสนใจเข้าร่วม CPTPP ซึ่งเป็นข้อตกลงการค้าเสรีสมัยใหม่ที่มีความก้าวหน้ามากขึ้น และครอบคลุมไปยังประเทศที่ไทยยังไม่เปิดการค้าเสรี
ตอกเข็ม "รถไฟความเร็วสูงไทย-จีน ช่วงภาชี-โคราช" โดย ร.ฟ.ท. เตรียมเซ็นสัญญา 7 ผู้รับเหมา ลอตแรก 5.9 หมื่นล้าน หลังรายงานผลกระทบ EIA ผ่าน คชก. แล้ว รอเพียงคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมอนุมัติ
หลักสูตรฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบบออนไลน์ด้านการประยุกต์ใช้ LORA TECHNOLOGY โดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (DIP) มี 5 modules เมื่อเข้าร่วมฝึกอบรมครบตามเกณฑ์ สามารถขอรับคำปรึกษาเพิ่มเติม หรือขอฝึกปฏิบัติได้
การใช้โรบอทในโรงงานส่งผลกระทบต่อการจ้างงานอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ มีงานวิจัยระบุถึงความสัมพันธ์ของจำนวนหุ่นยนต์ มีผลต่ออัตราการจ้างงาน และค่าแรงงาน รวมถึงความได้เปรียบเชิงธุรกิจ
ปลดล็อกเฟส 4 ดันดัชนีเชื่อมั่นอุตฯ เดือน มิ.ย. ปรับตัวเพิ่มขึ้นต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2
ยอดจดทะเบียนธุรกิจจัดตั้งใหม่ครึ่งปีแรก รวม 33,337 ราย สูงสุด 3 อันดับแรก 1. ก่อสร้าง 2. อสังหาริมทรัพย์ 3. ขนส่งและขนถ่ายสินค้า
ยอดขายรถยนต์ในเดือน มิ.ย. 2563 ลดลง 32.6% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ในขณะที่ตลาดรถจักรยานยนต์ ยอดลดลง 16.87%
ข้อเสนอ ลดเงินสมทบเหลือร้อยละ 1, เพิ่มสิทธิกรณีว่างงานเหตุสุดวิสัยเป็น 150 วัน ขยายเวลาขอรับสิทธิ จนถึง 31 ธ.ค. 63
Toyota Motors เผย สถานการณ์โควิดกระทบเศรษฐกิจทั้งระบบ ส่งผลให้ตลาดรถยนต์หดตัวในไตรมาส 1 และ 2 คาดครึ่งปีหลังเศรษฐกิจมีแนวโน้มดีขึ้น
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เผย ดัชนี MPI มิ.ย. ขยายตัว 4.18% (MoM) ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 2 ส่งสัญญาณการพลิกฟื้นของเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
ม.หอการค้าไทย คาด มูลค่าการส่งออกของไทยทั้งปีจะอยู่ที่ประมาณ 222,744 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หดตัว -9.6% (YoY)
โตโยต้าครองอันดับหนึ่งยอดขายรถยนต์ ครึ่งปีแรก ด้วยส่วนแบ่งตลาด 28.7% ตามด้วยอีซูซุ และฮอนด้า
corethailand.org จัดแคมเปญ ขึ้นทะเบียน "ผู้ประกอบการเครื่องจักรอัตโนมัติและหุ่นยนต์" ไม่มีค่าใช้จ่าย ภายใน 30 ก.ย.63 (จากปกติ 2500 บ.)
หอการค้าไทย ปรับประมาณการเศรษฐกิจใหม่ในปี 2563 เป็นติดลบอยู่ที่ 9.4% โดยไตรมาส 2 ต่ำสุดประวัติการณ์ติดลบที่ 15%
กกร. ปรับลดประมาณการเศรษฐกิจไทย ปี 2563 ลงมาเป็น -9.0% ถึง -7.0% ชี้เศรษฐกิจไทยขาดแรงขับเคลื่อนสำคัญจากภาคการท่องเที่ยวและการส่งออก
การเข้าร่วม CPTPP มีต้นทุน แต่การไม่เข้าร่วมก็มีต้นทุน และการเข้าร่วมช้า ก็มีต้นทุนเช่นเดียวกัน
ที่ประชุม รมต. ศก. อาเซียน-ญี่ปุ่น สมัยพิเศษ รับรองแผนฟื้นฟู ศก. และพร้อมเดินหน้าสู่ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจอาเซียน-ญี่ปุ่น ใหม่ มีผล 1 ส.ค. 63 นี้
Mr. Hiroshi Osagawara ผู้รับตำแหน่งประธานคนใหม่ Japan Robot Association ให้สัมภาษณ์ถึงความเป็นไปและปัญหาของอุตสาหกรรมหุ่นยนต์หลังโควิด
มาตรการพิเศษเพื่อส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมนำหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติมาใช้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตในโรงงาน
ช่วงเดือนต.ค.62 - มิ.ย.63 มีนักลงทุนยื่นคำขอใบอนุญาตแจ้งเริ่มประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรมทั่วประเทศรวม163 ราย เพิ่มขึ้น 41 รายจากช่วงเดียวกันในปีที่แล้ว
สรุปมาตรการสนับสนุนและบรรเทาภาคธุรกิจ บีโอไอ และ ก.คลัง เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจหลังโควิด พร้อมความเห็นและข้อเรียกร้องจากเอกชนโดยสมาคมธนาคารไทย
6 ผู้ผลิตหุ่นยนต์อุตสาหกรรมญี่ปุ่นร่วมสถาบันวิจัยและภาคการศึกษาก่อตั้ง ROBOCIP เพื่อวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีพื้นฐานหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
ม.ค.-มิ.ย. 63 โครงการยื่นขอรับการส่งเสริมตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต รวม 88 โครงการ แบ่งเป็นประหยัดพลังงาน 67 โครงการ และปรับเปลี่ยนเครื่องจักร 21 โครงการ
การระบาดของโควิดส่งผลให้ GDP ลดลงจากปีก่อนถึง 27.8% ซึ่งเป็นการหดตัวรายไตรมาสที่รุนแรงที่สุดนับตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2
ม.หอการค้าไทย เผยดัชนีความเชื่อมั่นฯ ก.ค. 63 อยู่ที่ 31.8 เพิ่มขึ้นเป็นเดือนที่ 2 ติดต่อกัน จากมาตรการผ่อนปรนทำให้ธุรกิจเริ่มกลับมาเปิดกิจการได้
ส.อ.ท. เผยดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม ก.ค. 63 อยู่ที่ 82.5 เพิ่มขึ้น 2.5 ชงรัฐขยายมาตรการช่วย SMEs ถึงสิ้นปี เร่งเบิกจ่ายงบกระตุ้นเศรษฐกิจ
ยอดขายรถยนต์เดือน ก.ค. 63 รวม 59,335 คัน ขยับขึ้น 2.28% จากเดือนที่แล้ว จักรยานยนต์มียอดขายรวม 137,023 คัน เพิ่มขึ้น 9.59%
นโยบายเศรษฐกิจภายใต้นายกรัฐมนตรีชินโซ อาเบะ ต้องเจอไฟเหลือง เมื่อ GDP หดตัวถึง 27.8% ในไตรมาสสองที่ผ่านมา
พาณิชย์ เผยตัวเลขส่งออกไทยเดือนกรกฎาคม หดตัว 11.37% ซึ่งหดตัวน้อยลงจากเดือนก่อนหน้า ขณะที่ตลาดสหรัฐฯ ขยายตัวต่อเนื่องเดือนที่ 2
กระทรวงอุตสาหกรรม เผย ดัชนี MPI ก.ค. ขยายตัว 3.12 % (MoM) ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 ส่งสัญญาณ ศก.ภาคอุตฯ ฟื้นตัว
ยอดจดทะเบียนธุรกิจจัดตั้งใหม่เดือน ก.ค. รวม 5,667 ราย สูงสุด 3 อันดับแรก 1. ก่อสร้าง 2. อสังหาริมทรัพย์ 3. ขนส่งและขนถ่ายสินค้า
ผู้ผลิตอาหารสัตว์ ต้องการหาผู้ผลิตและวางระบบ Automation ทั้งระบบในโรงงาน เช่น ASRs, Rack, Automation Cranes, Belt Conveyor
ส.อ.ท. ผนึกภาคเอกชน จัดอบรม Lean Automation ระหว่างวันที่ 9 กันยายน - 8 ตุลาคม นี้ ณ ศูนย์ปฏิรูปอุตสาหกรรมฯ (ITC)
สรุปภาวะเศรษฐกิจอุตสาหกรรมไตรมาส 2 ดัชนี MPI หดตัว 20% โดยปัจจัยสำคัญมาจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัว รวมถึงผลกระทบจากโควิด-19
การค้า ตปท. มีมูลค่ารวม 9.66 หมื่นล้านเหรียญ ส่งออกหดตัว 17.6% ในขณะที่นำเข้าหดตัว 23.6% เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันของปีก่อน โดยดุลการค้าในไตรมาสนี้ เกินดุล 6.8 พันล้านเหรียญ
กองนโยบายอุตสาหกรรมรายสาขา สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เปิดเผยแนวโน้มอุตสาหกรรมในไตรมาส 3 ที่ยังได้รับผลกระทบจากโควิด-19
เศรษฐกิจโลกในไตรมาส 2 มีแนวโน้มเข้าสู่ภาวะถดถอยจากการหดตัวของภาคเศรษฐกิจในหลายประเทศ ตลอดจน ภาพรวมปริมาณการค้า การผลิต ทั่วโลกยังคงชะลอตัว
กกร. ชี้เศรษฐกิจไทยพ้นจุดต่ำสุดในไตรมาส 2/2563 แต่ภาพรวมยังอ่อนแอทั้งส่งออก ท่องเที่ยว ลงทุน คาดทั้งปีหดตัว -9.0% ถึง -7.9%