สรุปยอดขายรถยนต์ ครึ่งปีแรก 2565
โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย รายงานสรุปยอดขายรถยนต์ในประเทศไทย ครึ่งปีแรก 2565 (เดือนมกราคม – มิถุนายน) ดังนี้
1. ตลาดรถยนต์รวม ปริมาณการขาย 427,303 คัน เพิ่มขึ้น 14.5%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 142,032 คัน เพิ่มขึ้น 21.2% ส่วนแบ่งตลาด 33.2%
อันดับที่ 2 อีซูซุ 109,889 คัน เพิ่มขึ้น 18.0% ส่วนแบ่งตลาด 25.7%
อันดับที่ 3 ฮอนด้า 40,161 คัน ลดลง 6.0% ส่วนแบ่งตลาด 9.4%
2. ตลาดรถยนต์นั่ง ปริมาณการขาย 135,900 คัน เพิ่มขึ้น 12.9%
อันดับที่ 1 โตโยต้า 38,894 คัน เพิ่มขึ้น 30.9% ส่วนแบ่งตลาด 28.6%
อันดับที่ 2 ฮอนด้า 29,574 คัน ลดลง 19.2% ส่วนแบ่งตลาด 21.8%
อันดับที่ 3 มาสด้า 12,111 คัน เพิ่มขึ้น 11.2% ส่วนแบ่งตลาด 8.9%
3. ตลาดรถเพื่อการพาณิชย์ ปริมาณการขาย 291,403 คัน เพิ่มขึ้น 15.3%
อันดับที่ 1 อีซูซุ 109,889 คัน เพิ่มขึ้น 18.0% ส่วนแบ่งตลาด 37.7%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 103,138 คัน เพิ่มขึ้น 17.9% ส่วนแบ่งตลาด 35.4%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 16,292 คัน เพิ่มขึ้น 11.8% ส่วนแบ่งตลาด 5.6%
4. ตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน* (Pure Pick up และ รถกระบะดัดแปลง PPV) ปริมาณการขาย 227,842 คัน เพิ่มขึ้น 15.7%
อันดับที่ 1 อีซูซุ 101,439 คัน เพิ่มขึ้น 19.3% ส่วนแบ่งตลาด 44.5%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 89,232 คัน เพิ่มขึ้น 20.4% ส่วนแบ่งตลาด 39.2%
อันดับที่ 3 มิตซูบิชิ 16,168 คัน เพิ่มขึ้น 13.7% ส่วนแบ่งตลาด 7.1%
*ปริมาณการขายรถกระบะดัดแปลง ในตลาดรถกระบะขนาด 1 ตัน : 29,586 คัน
โตโยต้า 13,466 คัน – อีซูซุ 9,095 คัน – มิตซูบิชิ 4,154 คัน – ฟอร์ด 2,246 คัน – นิสสัน 625 คัน
โตโยต้า 13,466 คัน – อีซูซุ 9,095 คัน – มิตซูบิชิ 4,154 คัน – ฟอร์ด 2,246 คัน – นิสสัน 625 คัน
5. ตลาดรถกระบะ Pure Pick up ปริมาณการขาย 198,256 คัน เพิ่มขึ้น 17.3%
อันดับที่ 1 อีซูซุ 92,344 คัน เพิ่มขึ้น 22.1% ส่วนแบ่งตลาด 46.6%
อันดับที่ 2 โตโยต้า 75,766 คัน เพิ่มขึ้น 22.5% ส่วนแบ่งตลาด 38.2%
อันดับที่ 3 ฟอร์ด 12,655 คัน ลดลง 8.0% ส่วนแบ่งตลาด 6.4%
อ่านต่อ: ยอดขายรถยนต์และรถจักรยานยนต์รายเดือน
- เดือนมกราคม 2565
- เดือนกุมภาพันธ์ 2565
- เดือนมีนาคม 2565
- เดือนเมษายน 2565
- เดือนพฤษภาคม 2565
- เดือนมิถุนายน 2565
บทความยอดนิยม 10 อันดับ
- 10 ตัวอย่างที่นำ 5G มาใช้งานได้อย่างน่าสนใจและประสบผลสำเร็จ
- เทคโนโลยีแห่ง G สู่ 5G เครือข่ายไร้สาย
- แบตเตอรี่ลิเธียมไอออนคืออะไร ตลาดจะก้าวไปในทางไหนในปี 2030?
- เทคโนโลยีสำหรับโลจิสติกส์ ทางเลือกสู่ทางรอด ปรับก่อนโดนเบียด
- นิยามใหม่ SME ใช้ “รายได้” เป็นตัวกำหนด
- ธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจาก COVID-19 ปี 2564
- กลยุทธ์การ PR และ Communication ในยุคดิจิทัล
- ปัญหาตู้คอนเทนเนอร์ขาดแคลน เจาะลึกตู้สินค้าหายไปไหน?
- เทรนด์การทำงานในอนาคต หลังไทยติดโควิด นานเกือบสองปี!
- FTA ไทย มีกี่ประเทศ พอหรือไม่ ทำไมต้องคิดเรื่อง CPTPP
อัปเดตข่าวทุกวันที่นี่ www.mreport.co.th
Line / Facebook / Twitter / YouTube @MreportTH