พระราชบัญญัติเดินอากาศ พ.ศ. 2497 กับ อากาศยานไร้คนขับ
คงปฏิเสธไม่ได้ว่าปัจจุบันนี้ผู้ คนส่วนใหญ่จะได้ยินหรือรู้จักกั บคำว่า “โดรน DRONE” หรือถ้าจะเรียกอย่างเป็ นทางการคือ “อากาศยานไร้คนขับ หรือ UNMANNED AERIAL VEHICLE – UAV” ซึ่งยานพาหนะตัวนี้ได้เข้ามาเกี่ ยวข้องกับธุรกิจต่างๆ ไม่ว่าจะนำมาใช้ ในงานของทางราชการ งานของเอกชน หรือบุคคลทั่วไป งานราชการ เช่น การสำรวจพื้นที่ การสำรวจเหตุอุทกภัย การสำรวจรังวัดพื้นที่เขตป่ าสงวน หรือใช้ในราชการทหาร เช่น ทางยุทธวิธี ฯลฯ ส่วนของเอกชนก็นำมาใช้ในงานถ่ ายภาพเทศกาลต่าง ๆ หรือถ่ายภาพโฆษณา ถ่ายเพื่อความสนุกสนาน ถ่ายสำรวจรังวัดพื้นที่ สำรวจเส้นทาง หรือพ่นยาฆ่าแมลง เป็นต้น
การใช้ โดรน หรือ อากาศยานไร้คนขับ โดยเฉพาะของเอกชนหรือบุคคลทั่ วไปที่ไม่ใช่หน่วยงานของราชการ การจะใช้งานหรือทำการบินได้ จะต้องมีการจดทะเบียนโดรน มีการขออนุญาตใช้โดรน และขออนุญาตใช้คลื่นความถี่ เนื่องจากพระราชบัญญัติเดิ นอากาศ พ.ศ. 2497 ได้ถือว่า “โดรน หรือ อากาศยานไร้คนขับ” เป็นอากาศยานประเภทหนึ่ง ตามคำนิยามตาม พระราชบัญญัติเดินอากาศ “อากาศยาน หมายความรวมถึงเครื่องทั้งสิ้ นซึ่งทรงตัวในบรรยากาศโดยปฏิกิ ริยาแห่งอากาศ เว้นแต่วัตถุซึ่งระบุยกเว้นไว้ ในกฎกระทรวง” ทั้งนี้ “กฎกระทรวงกำหนดวัตถุซึ่งไม่เป็ นอากาศยาน พ.ศ. 2548” กำหนดให้ “เครื่องบินเล็กซึ่งใช้เป็นเครื่ องเล่น” ไม่เป็นอากาศยาน แต่มิได้ยกเว้น “เฮลิคอปเตอร์ซึ่งใช้เป็นเครื่ องเล่น” ไว้แต่ประการใด โดรนจึงถือเป็น อากาศยานตามนิยามข้างต้น แต่เพราะโดรนส่วนใหญ่จะมีลั กษณะเป็นเฮลิคอปเตอร์ ซึ่งแม้จะใช้เป็นเครื่องเล่น ก็ถือว่าเป็ นอากาศยานตามพระราชบัญญัติเดิ นอากาศ
จากการที่ถือว่า โดรน หรือ อากาศยานไร้คนขับ เป็นอากาศยานตามพระราชบัญญัติ
1. การใช้อากาศยาน กำหนดห้ามมิให้ผู้
2. การจดทะเบียนและเครื่
3. ผู้ประจำหน้าที่อากาศยาน ผู้ประจำหน้าที่ หมายความว่า นักบิน ต้นหน นายช่าง พนักงานวิทยุ พนักงานควบคุมการจราจรทางอากาศ พนักงานอำนวยการบิน และผู้ทำหน้าที่อื่นตามที่
4. สนามบินและเครื่
5. บทกำหนดโทษ บทกำหนดโทษในพระราชบัญญัตินี้
จากบทบัญญัติของพระราชบัญญัติดั
ลองนึกภาพดูหากบังคับใช้
ปัจจุบันได้มีการประกาศให้ผู้ที่
1. การอนุญาตเป็นหนังสือทั่วไปแก่
2. การอนุญาตเป็นหนังสือ การขึ้นทะเบียนสำหรับโดรนที่น้ำ
3. การอนุญาตเป็นหนังสือเฉพาะราย กรณีนี้สำหรับโดรนที่น้ำหนักเกิ
นอกจากนี้ ได้มีการประกาศในราชกิจจานุ
“อากาศยานที่ควบคุมการบิ
“ระบบควบคุมอากาศยาน” หมายความว่า ชุดอุปกรณ์อันประกอบด้วยเครื่
ในประกาศราชกิจจาดังกล่าวยั
- ประเภทของอากาศยานที่ควบคุ
มการบินจากภายนอก 2 ประเภท คือ ประเภทที่ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ ในการเล่นเป็นงานอดิเรก เพื่อความบันเทิง หรือเพื่อการกีฬา และประเภทที่ใช้เพื่อวัตถุ ประสงค์อื่นที่มีน้าหนักไม่เกิน 25 กิโลกรัม - เกณฑ์การการอนุญาตให้บังคับหรื
อปล่อยอากาศยาน ที่มีน้ำหนักไม่เกิน 2 กิโลกรัม - เงื่อนไขที่จะต้องปฏิบัติก่อนที่
จะทำการบิน หรือระหว่างทำการบิน - คุณสมบัติของผู้ที่จะทำการบังคั
บหรือปล่อยอากาศยาน ที่มีน้ำหนักเกิน 2 กิโลกรัมแต่ไม่เกิน 25 กิโลกรัม - การขอขึ้นทะเบียนเป็นผู้บังคั
บหรือปล่อยอากาศยาน - เงื่อนไขของผู้บังคับหรือปล่
อยอากาศยานที่ได้ขึ้นทะเบียนแล้ วจะต้องปฏิบัติก่อนทำการบิน หรือระหว่างทำการบิน - คุณสมบัติและลักษณะของผู้บังคั
บหรือปล่อยอากาศยานตามวัตถุ ประสงค์อื่น - รายละเอียดการยื่นคำขอขึ้นทะเบี
ยนต่ออธิบดีพร้อมเอกสารและหลั กฐาน สำหรับผู้บังคับหรือปล่ อยอากาศยานที่มีน้ำหนักไม่เกิน 25 กิโลกรัม ที่ใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น - ขั้นตอนการตรวจสอบคุณสมบัติ และลักษณะผู้บังคับหรือปล่
อยอากาศยาน
จากที่กล่าวมาคนทั่
4. คณะกรรมการบินพลเรือน มีความเห็นว่า โดรนคืออากาศยานประเภทหนึ่ง จึงควรมีกฎข้อบังคับเหมื
ปัจจุบันจะเห็นว่าวิวัฒนาการต่
บทความโดย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ธนกร ณรงค์วานิช วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
บทความยอดนิยม 10 อันดับ
- สรุปยอดขายรถยนต์ ครึ่งปีแรก 2022
- ภาพรวมอุตสาหกรรมโซลาร์เซลล์ของไทย
- สถานการณ์ชิปขาดตลาด 2022 จะสิ้นสุดเมื่อไหร่?
- 12 เทรนด์เทคโนโลยีมาแรงแห่งปี 2022
- 10 ตัวอย่างที่นำ 5G มาใช้งานได้อย่างน่าสนใจและประสบผลสำเร็จ
- เทคโนโลยีแห่ง G สู่ 5G เครือข่ายไร้สาย
- แบตเตอรี่ลิเธียมไอออนคืออะไร ตลาดจะก้าวไปในทางไหนในปี 2030?
- เทคโนโลยีสำหรับโลจิสติกส์ ทางเลือกสู่ทางรอด ปรับก่อนโดนเบียด
- นิยามใหม่ SME ใช้ “รายได้” เป็นตัวกำหนด
- FTA ไทย มีกี่ประเทศ พอหรือไม่ ทำไมต้องคิดเรื่อง CPTPP
อัปเดตข่าวทุกวันที่นี่ www.mreport.co.th
Line / Facebook / Twitter / YouTube @MreportTH