สำรวจว่า Fujii Corporation ซึ่งเป็นผู้นำที่ได้รับการยอมรับในด้านการจัดการความหลากหลาย กำลังปฏิวัติสถานที่ทำงานอย่างไร จากการขจัดอุปสรรคไปจนถึงการเสริมศักยภาพพนักงานที่มีภูมิหลังที่หลากหลายเพื่อเพิ่มผลผลิต
ความเปราะบางของซัพพลายเชนในปัจจุบันอาจนำไปสู่ความเสี่ยงที่จะการขาดแคลนสินค้าจำเป็นได้ อย่างไรก็ตาม ผู้ผลิตเองก็สามารถบริหารจัดการซัพพลายเชนเพื่อลดความเสี่ยงเหล่านี้ได้เช่นกัน ติดตามในบทความนี้
สถาบันไฟฟ้าฯ นำเสนอบทวิเคราะห์ กรณีศึกษา: สิงคโปร์ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ด้วยแผนยุทธศาสตร์ Smart Nation เพื่อศึกษาแนวคิดการพัฒนาของสิงคโปร์
บริษัทญี่ปุ่นกำลังเผชิญกับ "ความเสี่ยงจากจีน" ที่เพิ่มสูงขึ้น ประเมินการดำเนินงานของตนอีกครั้ง รายงานนี้สำรวจความมั่นคงทางเศรษฐกิจและความท้าทายในห่วงโซ่อุปทาน โดยเจาะลึกถึงการเปลี่…
คุณคุ้นเคยกับทีม CX (ประสบการณ์ลูกค้า) หรือไม่? CX หมายถึงการจัดการและการตลาดที่ไม่เพียงแต่เน้นคุณค่าทางกายภาพของผลิตภัณฑ์และบริการ เช่นฟังก์ชัน ประสิทธิภาพ และราคา แต่ยังรวมถึงคุณ…
นายกุลโชค โพธิ์พัฒนชัย ประธานบริษัท A.I. Group และ A.I. Technology ยก Digital และ Automation รหัสเปิด Green Manufacturing ติดตามในบทสัมภาษณ์นี้
หากจะพูดว่า “ค่าแรงขั้นต่ำ” ถูกยกให้เป็นเรื่องสำคัญมายาวนาน ควบคู่กับการติดกับดักรายได้ปานกลางของไทย ประธานบริษัท A.I. Technology ชวนขบคิดว่า นี่คือ “คำตอบ” หรือ “กับดัก”
MST Corporation Thai รับผลิตและแปรรูปกราไฟต์ สำหรับชิ้นส่วนในหลากหลายอุตสาหกรรมและอิเล็กโทรดกราไฟต์ที่ใช้ในงาน EDM โดยสามารถผลิตชิ้นงานที่มีความละเอียดได้ถึง ±5 ไมครอน
ISID South East Asia (Thailand) บริษัทแถวหน้าในการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล (DX) ในภาคการผลิตของไทย Kenichi Karasawa สะท้อนมุมมองผ่านบทความนี้
นายวิเชษฐ์ เมืองจันทร์ Group CEO บริษัท Eureka Automation นำเสนอมุมมองในการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลของอุตสาหกรรมไทย พร้อมเผยความท้าทายหลักที่ต้องอาศัยแรงขับเคลื่อนจากหน่วยงานรัฐในบทความนี้
เจาะลึกขอบเขตของ Digital Transformation สำรวจความเร่งด่วน ความคืบหน้า อุปสรรค และแนวทางแก้ไขที่เป็นไปได้ ผ่านข้อมูลเชิงลึกจาก เออร์ลิคอน ประเทศไทย
PATLITE ส่งผ่านความมุ่งมั่นสู่อนาคตการผลิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วยผลิตภัณฑ์ไฟสัญญาเตือนในโรงงานที่มีความทนทานสูง มีส่วนช่วยลดของเสียที่ทำให้โลกยั่งยืน
เออร์ลิคอน ประเทศไทย เผยมุมมองเกี่ยวกับนโยบาย 30@30 และผลกระทบต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ที่สร้างความกังวลในการปรับตัวของผู้ประกอบการไทย โครงสร้างพื้นฐานการชาร์จ และความต้องการการสนับสนุนจากรัฐบาล
ผู้เชี่ยวชาญด้านเครื่องมือวัด บริษัท ควอลิตี้ รีพอร์ท สะท้อนมุมมองต่อก้าวสำคัญสู่การบรรลุสังคมคาร์บอนต่ำกับนโยบาย 30@30 อันทะเยอทะยาน เพื่อเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย
บ่ายวันที่ 29 มิ.ย. ค่าเงินเยนร่วงลงไปแตะระดับ 144 เยนต่อดอลลาร์ ซึ่งเป็นจุดต่ำสุดในช่วง 7 เดือน บทความนี้พาสำรวจว่าแต่ละบริษัทมองอัตราแลกเปลี่ยนในอนาคตและผลกระทบต่อธุรกิจอย่างไร
เจาะลึกมุมมองของ นายจีระวัฒน์ กุลทรัพย์อุดม CGO บริษัท แอพพลิแคด จำกัด (มหาชน) ผู้ให้บริการโซลูชันซอฟต์แวร์ออกแบบ 3D ชั้นนำในประเทศไทย แบ่งปันข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับ Digital Transformation
คำถามในใจใครหลายคน “รถยนต์ไฟฟ้า ZERO Emission จริงหรือไม่” ขณะที่ไทยกำลังเร่งเครื่องนโยบาย 30@30 เพื่อเข้าสู่การเป็นสังคมคาร์บอนต่ำ (Low-carbon Society)
4D Corp ผู้นำเข้าเทคโนโลยีซอฟท์แวร์ Mechanical Engineering เผย Digital Transformation คือเรื่องจำเป็นของอุตสาหกรรมไทยในการไปให้ถึง Smart Factory 4.0
ประเทศไทยกำลังเร่งเครื่องนโยบาย 30@30 โดยตั้งเป้าผลิตรถยนต์ที่ปล่อยมลพิษเป็นศูนย์ (ZEV) ให้ได้อย่างน้อย 30% ของการผลิตยานยนต์ทั้งหมดในปี 2030 เล็งขึ้นฮับผลิตอีวีแห่งอาเซียน
การปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 450 บาท อาจจะเป็น “ทางรอด” ที่ถูกคาดหวังเพื่อช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตแรงงาน แต่ในมุมผู้ประกอบการอาจจะมองหา “ทางเลือก” ในการปรับเปลี่ยนแผนดำเนินงาน
Digital Transformation พลวัตแห่งนวัตกรรมในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ทั้งด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และสังคม ที่ผู้ประกอบการต้องปรับตัวและต้องลงทุน
“การปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 450 บาท” ถูกหยิบยกเป็นประเด็นร้อนแรงในช่วงที่ผ่านมา ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมมีความเห็นต่อเรื่องนี้อย่างไร
งานที่ AI ทำแทนไม่ได้คืองานที่ต้องใช้ทักษะของมนุษย์ WEF ระบุ 3 อันดับอาชีพจ้างงานสูงสุดใน 5 ปีข้างหน้า คาดว่าจะเป็นของผู้ควบคุมอุปกรณ์การเกษตร คนขับรถบรรทุกหนักและรถโดยสารประจำทาง และครูอาชีวศึกษา
ภาษีคาร์บอนข้ามแดน (Carbon Border Tax) ได้จุดประกายให้ทั่วโลกหันมาใช้มาตรการที่มีลักษณะใกล้เคียงกัน ผู้ประกอบการไทยจึงควรเตรียมรับมือ โดยอาจมีการขยายขอบข่ายไปยังสินค้าที่ส่งผลต่อไท…
CHIPS Act of 2022 เป็นกฎหมายฉบับใหม่ของสหรัฐฯ ในการเสริมสร้างอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ภายในประเทศ รวมถึง เสริมสร้างเศรษฐกิจ ความมั่นคง และซัพพลายเชนชิปของสหรัฐฯ
โรงงานผลิตแม่พิมพ์โลหะ Progressive Die ที่มีความเที่ยงตรงสูง (+/- 0.001) การควบคุมอุณหภูมิให้เสถียรคือสิ่งจำเป็น สู่วิศวกรรมอาคารโรงงานแบบโครงสร้างพิเศษใต้ดิน
กรณีศึกษาจากโรงงานแห่งหนึ่ง ที่ต้องดิ้นรนเพื่อความอยู่รอด เมื่อบริบทของธุรกิจเปลี่ยนไป และหากต้องการยกระดับตนเอง จากการรับจ้างผลิตมาเป็นการพัฒนา Brand ตนเอง ต้องใช้ความพยายาม และทรัพยากรกันไม่น้อยครับ
ทิศทางและความสำคัญ ต่อการสร้างเสถียรภาพให้กับเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกอย่างยั่งยืนด้วยแนวคิด Green Productivity และ Circular Economy
ตลอด 3 ปีที่ผ่านมา Productivity ถูกปรับเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง ยังคงเน้นเรื่อง QCDSMEE อยู่หรือไม่ และเทคโนโลยีที่ปรับเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว จะมีบทบาทอย่างไรต่อการขับเคลื่อนผลิตภาพในอนาคต
สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ร่วมกับ สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม จัดทำแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2566-2570)
CEO ของ Microsoft เผย มุมมองเกี่ยวกับการทำงานในอนาคตที่ Davos 2023 โดย ‘เอไอ-ปัญญาประดิษฐ์’ จะเปรียบเสมือน ‘Co-pilot ผู้ช่วยนักบิน’ ที่มาช่วยทำงานไม่ใช่มาทำงานแทนทั้งหมด
คาร์บอนเครดิต (Carbon Credit) หมายถึง ปริมาณก๊าซเรือนกระจก ที่ลดหรือกักเก็บได้จากการดำเนินโครงการต่าง ๆ เช่น การปลูกป่า การเพิ่มพื้นที่สีเขียว การดักจับและกักเก็บก๊าซคาร์บอน เป็นต้น
ชวนทำความรู้จัก กรอบความร่วมมือเศรษฐกิจอินโด-แปซิฟิก (IPEF) ที่มีขนาดเศรษฐกิจรวมกันมากถึงร้อยละ 40 ของ GDP ของโลก เพราะมีทั้งสหรัฐฯ ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
‘อำนาจชัยกิจ’ หนึ่งในผู้นำตลาดด้านการผลิตงานเฟอร์นิเจอร์และตกแต่งภายในครบวงจร ได้นำระบบบริหารจัดการงานซ่อมบำรุง D MService ที่พัฒนาโดย PTT Digital มาช่วยบริหารประสิทธิภาพการทำงาน
ผลกระทบทางตรงของสงครามรัสเซีย-ยูเครน ที่มีต่ออุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ไทยอาจมีไม่สูงนัก เมื่อเทียบกับผลกระทบทางอ้อม ที่ไทยเป็นคู้ค้ากับสหภาพยุโรป
ชวนทำความรู้จักกับ “Material Flow Cost Accounting: MFCA” หนึ่งในเครื่องมือที่ช่วยให้เรามองเห็นปริมาณการใช้ทรัพยากร หรือ ต้นทุนต่าง ๆ ที่เราใช้ไปในการผลิต ผ่านบทความนี้
ESG หรือ แนวคิดการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน กำลังได้รับความสนใจจากองค์กรมากมาย อย่างไรก็ตามกลับไม่ใช่ทุกองค์กรที่จะนำ ESG ไปประยุกต์ใช้ได้สำเร็จ เป็นเพราะอะไร ชวนค้นหาคำตอบไปพร้อมกัน
ต่อตอนที่ 2 การเพิ่ม Productivity ในแบบฉบับของ ‘โตโยต้า โรงงานเกตเวย์’ หนึ่งในผู้ได้รับรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ปี 2564 รางวัลอุตสาหกรรมดีเด่นด้านการเพิ่มผลผลิต เพื่อให้ครอบคลุมทุกด้านมากขึ้น
โตโยต้า เกตเวย์ หนึ่งในผู้ได้รับรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ปี 2564 รางวัลอุตสาหกรรมดีเด่นด้านการเพิ่มผลผลิต แบ่งปัน “การเพิ่ม Productivity ในแบบฉบับของโตโยต้า โรงงานเกตเวย์” ตอนที่ 1 กับบทความนี้
ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ สามารถเป็นส่วนหนึ่งของการผลิตอุปกรณ์เพื่อสนับสนุน 'อุตสาหกรรมเกม' ที่กำลังขยายตัวอยู่ในขณะนี้
ถอดรหัสความสำเร็จการสร้างนวัตกรรมของ พีทีที แอลเอ็นจี ผู้เปลี่ยนสถานะก๊าซ LNG ให้เป็น “พลังงานความเย็น” ที่สามารถนำมาสร้างประโยชน์ให้กับประเทศ
เปิดใจประธานบริหารมาสด้า มร. ทาดาชิ มิอุระ ไม่มีใครประสบความสำเร็จโดยลำพัง ทีมเวิร์คจะสร้างความแข็งแกร่ง พร้อมดูแลลูกค้ามากกว่าความประทับใจ
การปกป้องข้อมูลที่อ่อนไหวง่าย และสามารถดึงคุณค่าของข้อมูลนั้นมาใช้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เป็นกุญแจสำคัญของความต่อเนื่องทางธุรกิจและความสำเร็จขององค์กร
ในอนาคตอันใกล้ “ระบบอัตโนมัติ” จะเป็นตัวกำหนดทิศทางการวางระบบการทำงานในภาคอุตสาหกรรม แล้วเราจะมีวิธีการปรับตัวให้สามารถอยู่ร่วมกับเทคโนโลยีได้อย่างไร
เรียนรู้กระบวนการคิดและสร้าง Ecosystem Innovation เพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการที่ตอบสนองตลาด จากเคาน์เตอร์เซอร์วิส ผู้ได้รับรางวัลคุณภาพแห่งชาติปี 2564
เผยวิสัยทัศน์ นายทองพล อุลปาทร กรรมการบริหาร บริษัทสุมิพล คอร์ปอเรชั่น จำกัด และผู้อำนวยการสถาบันเทคโนโลยีการผลิตสุมิพล (SIMTec) กับศักราชใหม่สู่ Agile Technology
Digital และ Data เป็นหัวใจในการขับเคลื่อนองค์กร ขาดตัวใดตัวหนึ่งไปก็ยากที่จะแข่งขันได้ในยุคนี้ ครั้งนี้จะมาเติมเต็มทัศนะอื่น ๆ เพิ่มเติมถึงพัฒนาการและการประยุกต์ใช้งานด้านธุรกิจ
ในปัจจุบันมีธุรกิจเกิดใหม่ StartUp ที่ระบบ Lean ได้ประยุกต์ใช้ต่อยอดกับกลุ่มนี้กลายเป็น วิถีการสร้างธุรกิจใหม่ ที่จะชวนผู้อ่านมาศึกษากันครับ
ปัจจัยสู่ความสำเร็จที่เป็นฐานรากสำคัญขององค์กรยุคใหม่ คือ Digital และ Data ซึ่งถือเป็นหัวใจในการขับเคลื่อนองค์กรสู่อนาคต ขาดตัวใดตัวหนึ่งไปก็ยากที่จะอยู่รอดและแข่งขันได้ในยุคนี้
กรอบแนวคิดและวิธีปฏิบัติของระบบโลจิสติกส์และโซ่อุปทานแบบใหม่ได้ทลายกรอบความคิดเดิมที่มองแบบแยกส่วน สู่มุมมองใหม่ที่เปิดกว้างมากขึ้น ช่วยให้การจัดการมีมาตรฐานสากล