ฮอนด้า-นิสสัน จับมือสู้ศึกยานยนต์ไฟฟ้า
ฮอนด้าและนิสสันกำลังเดินหน้าสู่การควบรวมกิจการครั้งสำคัญ เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็นการแข่งขันจาก Tesla และ BYD หรือการพัฒนารถยนต์ที่กำหนดด้วยซอฟต์แวร์ (SDV)
ฮอนด้าและนิสสันกำลังเดินหน้าสู่การควบรวมกิจการครั้งสำคัญ เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็นการแข่งขันจาก Tesla และ BYD หรือการพัฒนารถยนต์ที่กำหนดด้วยซอฟต์แวร์ (SDV)
โตโยต้า, ฮอนด้า, นิสสัน และผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่จากญี่ปุ่นรายอื่น ๆ กำลังเตรียมรับมือกับยอดขายทั่วโลกที่คาดว่าจะลดลง 1.4% ในปีงบประมาณสิ้นสุดในเดือนมีนาคม 2568 สาหตุหลักจากการแข่งขั…
บริษัท เพรสซิชั่น ทูลลิ่ง เซอร์วิส จำกัด (PTSC) ผู้นำเข้าและจัดจำหน่ายเครื่องมืออุตสาหกรรมชั้นนำ ได้ปรับตัวอย่างไรเพื่อรับมือกับสถานการณ์นี้? เราได้พูดคุยกับ คุณรังสิมันต์ สมพรนิมิตกุล กรรมการผู้จัดการ เพื่อไขข้อข้องใจ
นักวิเคราะห์อุตสาหกรรมกล่าวว่า ตลาดยานยนต์ไฟฟ้า (EV) ชั้นนำกำลังมุ่งหน้าสู่จุดเปลี่ยนสำคัญ EVs จะมีราคาถูกกว่ารถยนต์ที่ใช้น้ำมัน คาดว่าการเปลี่ยนผ่านจะเกิดขึ้นเร็วที่สุดในปีนี้ในยุโรป
การเข้าสู่ตลาดรถยนต์ไฟฟ้าของ “ชาร์ป” ในขณะที่บริษัทหันเหจากธุรกิจ LCD แบบดั้งเดิม และเร่งความพยายามในการทำกำไร แนวทางเฉพาะตัว “Sharp-ness” ของชาร์ป (Sharp) กำลังถูกทดสอบในการเริ่มต้นครั้งใหม่กับตลาด EV
ในปี 2045 ทั่วโลกจะมีรถยนต์ขับขี่อัตโนมัติระดับ 3 อยู่ที่ 24.09 ล้านคัน และระดับ 4-5 มากถึง 27.93 ล้านคัน เราจะได้เห็นการเติบโตอย่างแข็งแกร่งตั้งแต่ปี 2035 และจะกลายเป็นส่วนใหญ่ของการผลิตในปี 2045
การฉ้อโกงในการยื่นขอรับรองประเภทรถยนต์กำลังส่งผลกระทบต่อวงการอุตสาหกรรมยานยนต์ เหตุการณ์เริ่มต้นที่ Daihatsu Motor ได้ขยายไปยังผู้ผลิตรถยนต์ญี่ปุ่นอีก 5 ราย รวมถึง Toyota Motor, Ho…
ผู้ผลิตรถยนต์ญี่ปุ่นกำลังถูกบังคับให้ปรับกลยุทธ์ในจีนใหม่ โดย Nissan ได้ปิดโรงงานบางแห่ง ส่วน Honda กำลังวางแผนลดพนักงาน และ Mitsubishi ได้ถอนตัวออกจากตลาดแล้ว
องค์การพลังงานระหว่างประเทศ (IEA) เผยแพร่รายงานที่บ่งชี้ว่ารถ SUV เป็นแรงขับเคลื่อนสำคัญเบื้องหลังการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทั่วโลกที่เพิ่มสูงขึ้น จนอาจเรียกได้ว่า SUV เป็นภัยคุกคามต่อสภาพภูมิอากาศที่กำลังเติบโต
โตโยต้ามีกำไรสูงสุดจากยอดขายรถยนต์ใหม่ที่มั่นคง โดยเฉพาะรถยนต์ไฮบริดในตลาดอเมริกาเหนือ ยุโรป และญี่ปุ่น การปรับปรุงผลิตภัณฑ์และลดต้นทุนที่ต่อเนื่อง การผลิตสูงขึ้นหลังจากแก้ปัญหาการขาดแคลนชิป
ซีอีโอ Nissan ตั้งเป้าหมายยอดขายทั่วโลกของปีงบประมาณสิ้นสุดเดือนมีนาคม 2568 ไว้ที่ 3.7 ล้านคัน เพิ่มขึ้น 7.5% ซึ่งจะเป็นยอดขายจากตลาดหลัก ๆ เช่น อเมริกาเหนือ ยุโรป และญี่ปุ่น
ผู้ผลิตยานยนต์ต่างเร่งพัฒนาแบตเตอรี่โซลิดสเตต (Solid-State Battery) ให้รถอีวีมีระยะการขับขี่ที่ไกลขึ้น และต้นทุนการผลิตแบตเตอรี่ที่ต่ำลงในระดับเหมาะสม
นิสสัน มอเตอร์ ประกาศปรับแก้ไขคาดการณ์ทางการเงินสำหรับปีงบประมาณที่สิ้นสุดในเดือนมีนาคม 2567 โดยยอดขายลดลงเหลือ 3.44 ล้านคัน กำไรจากการดำเนินงานอยู่ที่ 530 พันล้านเยน และกำไรสุทธิค…
อีซูซุ ติดอาวุธสู้คู่แข่งเพื่อรักษาความเป็นผู้นำตลาดรถปิคอัพ (LCV) ในประเทศไทย ที่ครองส่วนแบ่งตลาดสูงสุดคิดเป็น 30-40% จนถูกเรียกว่าเป็นรถยนต์ของประชาชน
โตโยต้า มอเตอร์ เปิดศูนย์วิจัยและพัฒนาแห่งใหม่ “Toyota Technical Center Shimoyama” ตั้งอยู่ในเขตภูเขาระหว่างเมืองโตโยต้าและโอคาซากิ เพื่อขับเคลื่อนนวัตกรรมยานยนต์ตามความมุ่งมั่นที่จะสร้างรถยนต์ที่ดียิ่งขึ้น
นอร์เวย์มีแนวโน้มที่จะกลายเป็นประเทศแรกในโลกที่มีรถยนต์ไฟฟ้า (Electric Vehicles) บนท้องถนนมากกว่ารถยนต์ใช้น้ำมันเบนซินภายในสิ้นปีนี้ หรือไม่เกินต้นปีหน้า 2568
Xiaomi เผยแพร่เทคโนโลยีหลักของ Xiaomi EV ได้แก่ E-Motor, Battery, Xiaomi Hyper Die-Casting, Xiaomi Pilot Autonomous Driving, และ Smart Cabin ที่จะทำให้เทคโนโลยีในวงการยานยนต์ก้าวไก…
CEO ISUZU เผย ยอดขายปิกอัพไตรมาสแรก 2567 ไม่กระเตื้อง 2 เดือนแรกยอดจำหน่ายเพียง 30,000 คัน ชี้ สาเหตุหลักไฟแนนซ์เขี้ยวปล่อยสินเชื่อ คาดกลางปีสัญญาณส่อบวกจากอานิสงค์งบใช้จ่ายรัฐบาล-ยอดนักท่องเที่ยวเพิ่ม
ซีอีโอของ Nissan เผยการพัฒนาภาค EV มาเร็วกว่าที่คิด ทำให้ตลาดผันผวนขั้นรุนแรง เพื่อจัดการปัญหานี้ ผู้ผลิตรถยนต์ตั้งเป้าเพิ่มยอดขาย 1 ล้านคัน เปิดตัวรถยนต์ 30 รุ่นใหม่ และมุ่งลดต้นทุนรถอีวี 30%
Gigacast เทคโนโลยีสำหรับขึ้นรูปโครงสร้างตัวถังรถยนต์ เป็นที่คาดหมายว่าจะแพร่หลายในญี่ปุ่น โดยเปิดตัวเต็มรูปแบบในปี 2568 บริษัทชิ้นส่วนยานยนต์กำลังก้าวเข้าสู่ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับ Giga-cast ในช่วงเวลานี้
สี่บริษัทยางญี่ปุ่นเร่งขยายยางรถยนต์ระดับพรีเมียม ตอบสนองความต้องการที่เพิ่มขึ้นและการพัฒนาอย่างรวดเร็วของรถยนต์ไฟฟ้า ผ่านการเพิ่มทุนและปรับโครงสร้าง
ไซต์การผลิตของญี่ปุ่นกำลังสั่นคลอน ปัญหาการฉ้อโกงด้านคุณภาพที่ได้รับการเปิดเผยในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาในบริษัทญี่ปุ่น เช่น Daihatsu และ Toyota กำลังสูญเสียความไว้วางใจในแบรนด์ญี่ปุ่…
สรุปอุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 การผลิตและการขายรถยนต์ทั่วโลกฟื้นตัวขึ้นเนื่องจากการขาดแคลนเซมิคอนดักเตอร์ผ่อนคลายลง จีนขับเคลื่อน EV shift สหรัฐฯ เผชิญกับความท้าทายด้วยค่าแรงที่สูงขึ้น
เส้นใยนาโนเซลลูโลส (CNF) เป็นวัสดุจากพืชซึ่งมีความแข็งแรงเช่นเดียวกับเหล็กแต่น้ำหนักเบา ที่ไม่เพียงแต่ลดการใช้ทรัพยากรฟอสซิล แต่ยังเพิ่มการรีไซเคิลพลาสติกอีกด้วย
ความท้าทายในอุตสาหกรรมยานยนต์เพื่อการพาณิชย์ยังคงมีอยู่! อีซูซุปรับตัว ฮีโน่เผชิญความพ่ายแพ้ การควบรวมกิจการกับ Mitsubishi Fuso ในปี 2024 จุดประกายความสนใจ ร่วมกับการนำทางของแนวโน้มระดับโลกและการลดคาร์บอน
โครงการ COOPERATE ในเยอรมนี กำลังพัฒนาชิ้นส่วนยานยนต์ที่ทนทานและลดการปล่อยคาร์บอน ผลิตจากโพลีเมอร์ชีวภาพเสริมเส้นใย (Fiber-reinforced biopolymers) ทดแทนการใช้พลาสติกจากฟอสซิล
Toyota และ Idemitsu ประกาศความร่วมมือในการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตจำนวนมาก (Mass Production) สำหรับแบตเตอรี่โซลิดสเตตเพื่อใช้ในรถยนต์ BEVs ตั้งเป้าจำหน่ายเชิงพาณิชย์ในปี 2027
“ยานยนต์ไร้คนขับ” (Autonomous Vehicles) หนึ่งในเทรนด์เทคโนโลยีมาแรงคู่กับรถยนต์ไฟฟ้า แต่เชื่อว่าหลายท่านยังไม่ชัดเจนนักว่า เทคโนโลยีนี้จะถูกนำมาใช้จริงบนท้องถนนเมื่อไหร่ มาไขประเด็นในบทความนี้
Toyota เปิดตัวรถหรูระดับไฮเอนด์ Century โมเดล SUV ใหม่เป็นครั้งแรกในโลก พร้อมออกสู่ตลาดต่างประเทศ โดยเซ็นจูรี่เป็นรถยนต์รุ่นเรือธงระดับสูงสุดของโตโยต้าที่เดิมทีมีเพียงรุ่นซีดานและจำหน่ายในญี่ปุ่นเท่านั้น
เออร์ลิคอน ประเทศไทย เผยมุมมองเกี่ยวกับนโยบาย 30@30 และผลกระทบต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ที่สร้างความกังวลในการปรับตัวของผู้ประกอบการไทย โครงสร้างพื้นฐานการชาร์จ และความต้องการการสนับสนุนจากรัฐบาล
ผู้เชี่ยวชาญด้านเครื่องมือวัด บริษัท ควอลิตี้ รีพอร์ท สะท้อนมุมมองต่อก้าวสำคัญสู่การบรรลุสังคมคาร์บอนต่ำกับนโยบาย 30@30 อันทะเยอทะยาน เพื่อเปลี่ยนแปลงภูมิทัศน์ของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย
สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) มีแผนปรับมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสำหรับยานยนต์จากมาตรฐานยูโร 4 ที่ใช้ในปัจจุบัน มาเป็นการใช้มาตรฐานยูโร 5 และ 6 ในอนาคตอันใกล้นี้
คำถามในใจใครหลายคน “รถยนต์ไฟฟ้า ZERO Emission จริงหรือไม่” ขณะที่ไทยกำลังเร่งเครื่องนโยบาย 30@30 เพื่อเข้าสู่การเป็นสังคมคาร์บอนต่ำ (Low-carbon Society)
บทความนี้พาทำความรู้จักกับเทคโนโลยีการวัดและโซลูชันที่หลากหลายสําหรับการผลิตยานยนต์ไฟฟ้า หรือ EV ซึ่งเป็นหัวข้อที่มีความต้องการและเป็นที่สนใจของนักลงทุนและผู้บริโภคทั่วโลกในเวลานี้
การใช้งานตลับลูกปืนตุ๊กตาจะต้องใช้เป็นคู่เพื่อยึดปลายเพลาทั้ง 2 ข้าง ทั้ง 2 ข้างจะไม่เหมือนกัน แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ แบบ Fixed (ตรึงแน่น) และแบบ Expansion (ขยับได้ในแนวแกนเพลาเล็กน้อย)
การใช้ Graphite Electrode ในงาน EDM แทนทองแดง มีข้อดีมากมาย เช่น น้ำหนักเบา กัดขึ้นรูปได้ง่ายและรวดเร็ว สร้างผิวงานที่ละเอียดได้ แต่ในเมืองไทยยังไปไม่ถึงไหนโดยเฉพาะกับผู้ผลิตแม่พิม…
สำหรับ “พานาโซนิค” การยกให้ยานยนต์เป็นหนึ่งในเสาหลักที่ค้ำจุนการเติบโตของบริษัทไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่ในยุคเปลี่ยนผ่านสู่ยานยนต์ไฟฟ้า พานาโซนิคจะมีทิศทางนำพาธุรกิจยานยนต์อย่างไร
‘ฟอร์ด’ บริษัทอีวีอันดับ 2 ของสหรัฐฯ เผยแผนลงทุน 3.5 พันล้านเหรียญ สร้างโรงงานแบตเตอรี่ LFP (Lithium iron phosphate battery) แห่งแรก ท่ามกลางกระแสข่าวปลดพนักงาน 3,800 คนในยุโรป
‘โคจิ ซาโตะ’ ประธาน Lexus ขึ้นนั่งเก้าอี้ CEO คนใหม่ Toyota พร้อมภารกิจสำคัญเปลี่ยนผ่านสู่ Mobility Company ตามเทรนด์โลกยุคยานยนต์ไฟฟ้าและดิจิทัล
ในยุครถยนต์ไฟฟ้าที่กำลังเบ่งบาน ‘อะลูมิเนียม’ ได้สวมบทบาท Advanced Materials ที่เข้ามาปลดล็อกให้อุตสาหกรรมยานยนต์เดินหน้าพร้อมไปกับการลดการปลอยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ญี่ปุ่นกำหนด 11 สินค้าสำคัญพร้อมทุ่มเงิน 9,995 ล้านดอลลาร์สหรัฐ สนับสนุนการผลิตและเสริมสร้างความมั่นคงของซัพพลายเชน เพื่อรักษาเสถียรภาพและส่วนแบ่งตลาด
‘การอ่อนค่าของเงินเยน’ ทำให้บริษัทญี่ปุ่นจำนวนมากมีรายได้เพิ่มขึ้น แต่ราคาวัตถุดิบที่พุ่งสูง ราคาพลังงานที่เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ภาวะเงินเฟ้อทั่วโลก และปัญหาอื่น ๆ ยังไม่มีท่าทีสิ้นสุด ล้วนกระทบอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของญี่ปุ่นเช่นกัน
เป็นที่กังวลว่า การมาถึงของยุคอีวีจะเป็นขาลงของผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ข้อเท็จจริงในประเด็นนี้จะเป็นเช่นไร มาร่วมไขประเด็นในบทความนี้
ต่อตอนที่ 2 การเพิ่ม Productivity ในแบบฉบับของ ‘โตโยต้า โรงงานเกตเวย์’ หนึ่งในผู้ได้รับรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ปี 2564 รางวัลอุตสาหกรรมดีเด่นด้านการเพิ่มผลผลิต เพื่อให้ครอบคลุมทุกด้านมากขึ้น
โตโยต้า เกตเวย์ หนึ่งในผู้ได้รับรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ปี 2564 รางวัลอุตสาหกรรมดีเด่นด้านการเพิ่มผลผลิต แบ่งปัน “การเพิ่ม Productivity ในแบบฉบับของโตโยต้า โรงงานเกตเวย์” ตอนที่ 1 กับบทความนี้
ผลกระทบต่อห่วงโซ่อุปทานยานยนต์ในไทย หากมีการเปลี่ยนแปลงความนิยมจากรถยนต์ ICE มาเป็น EV โดยแบ่งกลุ่มของผู้ผลิตออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ Growth, Stagnant และ Declining
เปิดใจประธานบริหารมาสด้า มร. ทาดาชิ มิอุระ ไม่มีใครประสบความสำเร็จโดยลำพัง ทีมเวิร์คจะสร้างความแข็งแกร่ง พร้อมดูแลลูกค้ามากกว่าความประทับใจ
ปรากฏการณ์เงินเยนร่วงต่ำสุดในรอบ 20 ปีเมื่อวันที่ 13 เมษายน 2022 เกิดอะไรขึ้น และส่งผลกระทบอย่างไรต่อภาคอุตสาหกรรม
Sodick เผยบทสัมภาษณ์ Fineplas ผู้ผลิตชิ้นส่วนในยานยนต์ด้วยวิธีการพิมพ์โลหะ 3 มิติ และสายการผลิตอัตโนมัติ ซึ่งเป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ท้าทาย
ในโลกปัจจุบัน เรามักได้ยินว่า Mass Production เป็นสิ่งล้าสมัยไปแล้ว เพราะผู้บริโภคแต่ละคนมีความต้องการหลากหลายเฉพาะตัว ในบทความจะชวนท่านผู้อ่านร่วมทบทวนเรื่องนี้ครับ