EU CHIPS ACT กระทบห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์อย่างไร?

EU CHIPS ACT กระทบห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์อย่างไร?

อัปเดตล่าสุด 8 ส.ค. 2567
  • Share :
  • 1,079 Reads   

จากสภาวะการขาดแคลนเซมิคอนดักเตอร์ที่มีสาเหตุหลักมาจากหลายปัจจัย อาทิ Trade War ที่นำไปสู่ Tech War ระหว่างสหรัฐฯ กับจีนที่เริ่มมาตั้งแต่ปี 2018 อุปสงค์ในสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ที่เพิ่มมากขึ้นจากวิกฤตโควิด-19 การฟื้นตัวของอุตสาหกรรมยานยนต์โลกในปี 2020 รวมถึงการเติบโดของอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า ตลอดจนปัญหาการชะงักงันของห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Disruption) เป็นต้น ซึ่งสาเหตุดังกล่าวเหล่านี้ ส่งผลกระทบให้ปัญหาการขาดแคลนเซมิคอนดักเตอร์ยิ่งมีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ หลายประเทศทั่วโลกต่างเร่งแก้ปัญหาดังกล่าวโดยการปรับเปลี่ยนอุตสาหกรรมการผลิตไปสู่รูปแบบ Regionalization และ Localization มากขึ้น' ด้วยการส่งเสริมการลงทุนผ่านสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ รวมถึงสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพื่อดึงดูดให้บริษัทต่างชาติเข้าไปลงทุนตั้งฐานการผลิตในประเทศของตนมากขึ้น

สหภาพยุโรป" ซึ่งเป็นภูมิภาคที่มีบทบาทสำคัญในไวที่ประชาคมโลกทั้งทางด้านเศรษฐกิจการเมือง และสังคม ก็เป็นอีกหนึ่งภูมิภาคที่ได้รับผลกระทบจากวิกฤตดังกล่าวเช่นกัน เนื่องจากในการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ของสหภาพยุโรปต้องพึ่งพาซัพพลายเออร์จากประเทศนอกสหภาพยุโรปโดยเฉพาะประเทศในภูมิภาคเอเซียอย่างได้หวัน เกาหลีใต้ จีน และญี่ปุ่น ดังนั้น สหภาพยุโรปจึงออกกฎหมาย European Chips Act


(EU Chips Act) เพื่อดึงดูดการลงทุนจากบริษัทต่างชาติและกระตุ้นระบบนิเวศในสพภาพยโรป โดยสหภาพ ยุโรปตั้งเป้าหมายในการเพิ่มส่วนแบ่งการตลาดทั่วโลกให้เป็นร้อยละ 20 ในปี 2030

จากข้อมูลของ Boston Consulting Group และ Semiconductor Industry Association แสดงให้เห็นว่า ในปี 1990 สพภาพยุโรปและสหรัฐฯ เป็นผู้นำด้านกำลังการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ของโลก โดยสหภาพ
ยุโรปมีส่วนแบ่งด้านกำลังการผลิตเซมิคอนดักเตอร์มากที่สุดเป็นอันดับ 1 คิดเป็นร้อยละ 44 และลดลง ร้อยละ 9 ในปี 2020 ขณะเดียวกัน สพรัฐฯ ก็มีส่วนแบ่งด้านกำลังการผลิตเซมิดอนดักเตอร์ลดลงเช่นกัน
โดยลดลงจากร้อยละ 37 ในปี 1990 เหลือร้อยละ 12 ในปี 2020 ขณะที่ ประเทศในภูมิภาคเอเชีย เช่น ได้หวัน เกาหลีได้ จีน และญี่ปุ่น กลับมีส่วนแบ่งด้านกำลังการผลิตเซมิคอนตักเตอร์รวมกันมากกว่าร้อยละ
70 ในปี 2020 สะท้อนให้เห็นว่า สหภาพยุโรปและสหรัฐฯ ต้องพึ่งพาการนำเข้าเซมิคอนดักเตอร์จากประเทศในภูมิภาคเอเชียมากขึ้นในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา (ปี 1990 - 2020)

การคาดการณ์กำลังการผลิตเซมิคอนตักเตอร์ของโลกในปี 2030 ของ Boston Consulting Group และ Semiconductor Industry Association พบว่า ส่วนแบ่งด้านกำลังการผลิตของสพภาพยุโรป มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยจะลดลงเหลือร้อยละ 8 ในปี 2030 การคาดการณ์ดังกล่าวอาจะเป็นที่มาของกฎหมาย EU Chips Act ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการเพิ่มกำลังการผลิตให้เป็นร้อยละ 20 ในปี 2030


กฎหมาย EU Chips Act ของสหภาพยุโรป

กฎหมาย EU Chips Act ที่ถูกเสนอโดยคณะกรรมการยุโรปในปี 2022 ได้มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2023 ที่ผ่านมา โดยมีเป้าหมายเพื่อระดมเงินทุนจากงบประมาณกลางของสหภาพยุโรป
ประเทศสมาชิก และภาคเอกชน 43 พันล้านยูโร' สำหรับอุตสาหกรรมเซมิตอนดักเตอร์ของยุโรปภายในปี2030

EU Chips Act จะช่วยเสริมสร้างระบบนิเวศเซมิคอนดักเตอร์ของสหภาพยุโรป เพิ่มความยืดหยุ่นของห่วงโซ่อุปทาน และลดการพึ่งพาการผลิตจากภายนอกสหภาพยุโรป โดยมีวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ 5 ประการ ดังภาพต่อไปนี้




ทั้งนี้ กฎหมาย EU Chips Act แบ่งออกเป็น 3 เสาหลัก (Pilars) ผังดังต่อไปนี้

เสาหลักที่ 1 Chips for Europe Initiative จะสนับสนุนการสร้างขีดความสามารถทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมของสหภาพยุโรปโดยเพิ่มความสะดวกในการถ่ายโอนความรู้จากงานวิจัยและการผลิตจริงในภาคอุดลาหกรรม ตัวอย่างการดำเนินงาน เช่น

- แพลตฟอร์มการออกแบบ (Design Platform) คือ สภาพแวดล้อมเสมือนจริงบนคลาวด์ที่บูรณาการสิ่งอำนวยความสะดวกด้านการออกแบบและกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือระหว่างผู้ใช้งานและผู้เล่นหลักของระบบนิเวศ รวมถึงเสริมสร้างความสามารถในการออกแบบชิปของสหภาพยุโรป

- สายการผลิตนำร่อง (Pilot Lines) Chips for Europe Inttative ประกอบด้วยกลุ่มผลิตภัณฑ์นำร่องที่มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการผลิต การทดสอบ การทดลอง รวมถึงการผลิตขนาดเล็ก ซึ่งจะเป็นพื้นที่สำหรับการพัฒนางานวิจัยไปสู่การผลิตจริงในภาคอุดสาหกรรม

- ชิปควอนตัม (Assnciated Semiconductor Technnolonies) จะมีการสนับสนนการพัฒนา Design Librararies for Quantum Chips การผลิตชิปควอนตัม ตลอดจนสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับการทดสอบและตรวจสอบซิปควอนตัมขั้นสูงที่ผลิตโดยสายการผลิตนำร่อง

- การจัดตั้งเลรือร่ายศูนย์ความสามารถ (Competence Centres) ศูนย์ความสามารถไมเซมิคอนดักเตอร์จะทำให้ผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงความเชี่ยวชาญด้านเทคนิคและการทดลองเซมิคอน
ดักเตอร์ รวมถึงยังให้ความช่วยเหลือแก่ SMEs ในการปรับปรุงขีดความสามารถในการออกแบบและการพัฒนาทักษะ

- การจัดตั้งกองทุนชิป (Chips Fund) เพื่ออำนวยความสะดวกจากในการเข้าถึงการจัดทางเงินทุนและตราสารทุน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับสตาร์ทอัพ และ SMEs


เสาหลักที่ 2 Security of Supply and Resilience ได้กำหนดกรอบการทำงานเพื่อให้อุปทานอุดสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ของสหภาพยุโรปมีควาปลอดภัยและยึดหยุ่น โดยเน้นการดึงดูดการและเพิ่มขีดความสามารถในการผลิต (Manufacunnof Phsussoภณฑ์ข้นสูง (Advanced Packaging) การทดสอบ (Test) และการประกอบ (Assembly) ซึ่งมีองค์ประกอบหลัก 2 ประการ ดังนี้

- การพิจารณาสถานะของโรงงานผลิตแบบครบวงจร (Integrated Production Facities: IPF) และโรงหล่อแบบเปิดของสหกาพยุโรป (Open EU Foundry: OEF) -โรงานพลิตแบบครบางจร
(Integrated Production Facities: IPF) เป็นโรงานผลิตเซมิคอนดักเตอร์แบบครบวงจรซึ่งรวมถึงการผลิตส่วนหน้า (Front-End) ในการผลิตอุปกรณ์หรือส่วนประกอบสำคัญตลอดจนการออกแบบวงจรรรรรวม
หรือ Back-End Services ขณะที่โรงหล่อแบบเปิดของสหภาพยุโรป (Open EU Foundry: OEF) เป็นโรงงานผลิตเซมิคอนดักเตอร์ที่ผลิตชิปตามการออกแบบของบริษัทโดยเฉพาะบริษัท Fabless โดย
รายละเอียดเพิ่มเติมของกฎเกณฑ์คุณสมบัติ ขั้นตอนการสมัคร และขั้นตอนการประเมินสถานะของ IPF และ OEF จะเปิดเผยในอนาคตอันใกล้

- ฉลากศูนย์ความเป็นเลิศด้านการออกแบบ (Label of Design Centres of Excellence) คณะกรรมาธิการอาจมอบฉลากศูนย์ความเป็นเลิตด้านการออกแบบให้กับศูนย์การออกแบบ ซึ่งจะช่วยขีดความสามารถของสหภาพยุโรปในการออกแบบชิป โดยขั้นตอนการสมัคร ข้อกำหนดและเงื่อนไขในการอนุญาต การตรวจสอบ และการเพิกถอนฉลากจะกำหนดโดยคณะกรรมาธิการที่ได้รับมอบอำนาจ


เสาหลักที่ 3 Monitoring and Crisis Response กำหนดกลไกการประสานงานระหว่าง ประเทศสมาชิกและคณะกรรมาธิการเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือในการติดตามและตอบสนองต่อภาวะวิกฤตซึ่งมี
กลไกหลัก 3 ประการ ดังนี้

- การติดตาม (Monitoring) เช่น การทำแผนที่เชิงกลยุทธ์ของภาคเซมิคอนดักเตอร์ของสหภาพยุโรปรวมถึงการพึ่งพาประเทศที่สามและความต้องการทักษะด้านต่าง ๆ ตัวบ่งชี้การเตือนภัยล่วงหน้า ผู้เล่นสำคัญในตลาด และการลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นต่ออุตลาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ เป็นต้น

- การตอบสนองต่อภาวะวิกฤติ (Crisis Response) หากเกิดวิกฤติในอุตลาหกรรมเซมิคอนดักของประเทศสมาชิกเพื่อจัดหาผลิตภัณฑ์สำหรับภาคส่วนที่สำคัญ เป็นต้น

- คณะกรรมการเซมิคอนดักเตอร์แห่งยุโรป (European Semiconductor Board: ESB) กลไกการกำกับดูแลของ EU Chips Act ได้รับการรับรองโดย European Semiconductor Board (ESB) ซึ่งรวมถึงตัวแทนของประเทสมาชิคและโรเการเป็นประธาน โดย E3D จะให้คำแนะนะน่าช่วยเหลือ และให้ข้อเสนอแนะแก่คณะกรรมาธิการเกี่ยวกับการดำเนินงานภายได้สามเสาหลัก


ภายใต้กฎหมาย Eบ Chips Act ลึกลทุกข์ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวเพื่อลดการนำเข้าสินค้าเซมิคอนดักเตอร์จากประเทศในภูมิภาคเอเชีย โดยในระยะสั้น สหภาพยุโรปมีการสร้างแรงจูงใจทางการเงินเพื่อสนับสนุนการสร้างโรงงานเซมิคอนดักเตอร์ในสพภาพยุโรปมากขึ้น เช่น การสนับสนุนเงินอุดหนุนแก่บริษัท Intel จำนวน 6.8 พันล้านยูโร เพื่อสร้างโรงงานเซมิคอนดักเตอร์แห่งใหม่ที่เยอรมนี ทั้งนี้ยังมีกลยุทธ์ในระยะยาว นั่นคือ จัดตั้งศูนย์นวัดกรรมและศูนย์อำนวยความสะดวกแก่สตาร์ทอัพ ซึ่งในปัจจุบันสหภาพยุโรปมีโครงการ Digital Europe และ Horizon Europe ที่ช่วยสนับสนุนผู้ประกอบการรายย่อยในการวิจัยและพัฒนาที่เกี่ยวกับเซมิดอนลักเตอร์อีกด้วย

ภาพที่ 6 กลยุทธ์ระยะสั้นและระยะยาวภายได้กฎหมาย EU Chips Act

ภาพรวมการค้าเซมิคอนดักเตอร์ของสหภาพยุโรป

จากข้อมูลของ Trade Map แสดงให้เห็นถึง ภาพรวมทางการค้าอุตลาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของสหภาพยุโรปในปี 2022 ที่ผ่านมา โดยสหภาพยุโรปมีมูลค่าการส่งออกสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ไปทั่วโลกน้อยกว่ามูลค่าการนำเข้าสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์จากทั่วโลก ทำให้สหภาพยุโรปเสียดุลการค้า หากพิจารณาการส่งออกสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของสหภาพยุโรปไปทั่วโลก ในปี 2018 - 2022 จะพบว่า มีมูลค่าการส่งออกจาก 1,166,368 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2018 เพิ่มขึ้นเป็น 1,283,993 ล้านดลลาร์สหรัฐ ในปี 2022 ขณะที่การนำเข้าสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกล์ของสหภาพยุโรปจากทั่วโลก ในปี 2018 - 2022 นั้น มีการนำเข้ามูลค่า 1,317,735 ล้านดอลลาร์สพรัฐ ในปี 2022 ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปี 2018 ที่มีมูลค่า 1,086,363ล้านดอลลาร์สหรัฐ

เมื่อพิจารณาในสินค้าเซมิคอนดักเตอร์ พบว่า ในปี 2022 สหภาพยุโรปมีมูลค่าการค้าสินค้าเซมิคอนดักเตอร์รวมเท่ากับ 191,610 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยสพภาพยุโรปมีการนำเข้าสินค้าเซมิคอนดักเตอร์
จากทั่วโลก มูลค่า 112,593 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งคิดเป็นส่วนแบ่งทางการตลาดร้อยละ 8.8 และมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยต่อปี (CAGR) ร้อยละ 10.9 ขณะที่สพภาพยุโรปมีการส่งออกเซมิคอนดักเตอร์ไปทั่วโลก
มูลค่า 79,017 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งคิดเป็นส่วนแบ่งทางการตลาด ร้อยละ 6.0 และมีอัตราการเติบโตเฉลี่ยต่อปื (CAGR) ร้อยละ 6.6



ที่มา: Trade Map รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์โดยแผนกนโยบายและแผน สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์

หมายเหตุ: มูลค่าการนำเข้าและส่งออกสินค้าเซมิคอนดักเตอร์ของสพภาพยุโรป ปี 2018 - 2022 (ภาพที่ 7) จะรวมมูลค่าของสินค้าโฟโตวอลตาอิกเซลล์ด้วย เนื่องจาก HS 854140 ในปี 2018 - 2021 ที่อ้างอิงจาก HS Code ฉบับปี 2017 ไม่สามารถแยกสินค้า 1) กลอุปกรณ์กึ่งตัวนำแบบไวแสง 2) โฟโดวอลดาอิกเซลล์ จะประกอบขึ้นเป็นโมดลหรือทำเป็นแผงหรือไม่ก็ตาม และ 3) ได้โอดเปล่งแสง (แอลอีดี) ออกจากกันได้ ขณะที่ ปี 2022 แม้ว่าจะอ้างอิงมูลค่าสินค้าจาก HS CODE ฉบับปี 2022 ซึ่งสามารถแยก HS Code ของสินค้าโฟโตวอลตาอิกเซลล์ได้ แต่ก็ยังคงรวมมูลค่าของสินค้าโฟโดวอลพาอิกเซลล์เข้าไป
ด้วยเพื่อให้ข้อมูลเป็นรูปแบบเดียวกันกับข้อมูลปี 2018 - 2021 ทั้งนี้ สามารถดู HS Code ที่เกี่ยวข้องได้ที่ภาคผนวก


หมายเหตุ: 1) มูลค่าการนำเข้าและส่งออกสินค้าเซมิตอนดักเตอร์ของสพภาพยุโรปในปี 2022 จะอ้างอิงจาก HS Code ปี 2022 โดยไม่รวมสินค้าโฟโตวอลตาอิกเซลล์ ทั้งนี้ สามารถดู HS Code ที่เกี่ยวข้องได้ที่ภาคผนวก

2) วงจรรวมที่ใช้ในทางอิเล็กทรอนิกส์ ประเภทตัวประมวลผลและตัวควบคุม (Micro IC หรือ Processors and Controllers) ประกอบด้วย HS 854231

3) วงจรรวมที่ใช้ในทางอิเล็กทรอนิกส์ ประเภทวงจรขยายและวงจรรวมอื่น ๆ (Analog IC) ประกอบด้วย HS854233 และ HS 854239

4) ไดโอด ทรานซิสเตอร์ อุปกรณ์กึ่งตัวนำแบบไวแสงและส่วนประกอบ ประกอบด้วย HS 854110, HS

5) วงจรรวมที่ใช้ในทางอิเล็กทรอนิกส์ ประเกทวงจรความจำ (Memories IC) ประกอบด้วย HS 854232

6) ส่วนประกอบวงจรรวมที่ใช้ในทางอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย HS 854190

หากพิจารณาเฉพาะปี 2022 (ตารางที่ จะพบว่า สพภภาพยุโถปมีกรรรรฟ้าเช้าเส้นค้ากลุ่มเหมือนดักเตอร์ 87,181 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งสินค้านำเข้าหลัก ได้แก่ สินค้าวงจรรวมที่ใช้ในทางอิเล็กทรอนิกส์
ประเภทตัวประมวลผลและตัวควบคุม (Micro IC หรือ Processors and Controllers) คิดเป็นร้อยละ 41 และสินค้าวงจรรวมที่ใช้ในทางอิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ (Analog IC) ร้อยละ 33 โดยพบว่า มีการนำเข้าสินค้า
ดังกล่าวจากได้หวันสูงสุดคิดเป็นร้อยละ 13 และร้อยละ 15 ตามลำดับ ฉะนั้น การมีกฎหมาย EU Chips Act อาจช่วยให้เกิดการลงทุนเพื่อสร้าง Ecosystem ที่แข็งแกร่งในสพภาพยุโรป รวมถึงเกิดการพึ่งพา
การด้าภายในสพภาพ-ยุโรปมากขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศเยอรมนีและไอร์แลนด์ซึ่งเป็นทั้งผู้นำเข้าและส่งออกหลักในสินค้าดังกล่าว นอกจากนี้ยังช่วยลดการนำเข้าจากได้หวันซึ่งเป็นคู่ค้าหลักอีกอีก
ด้วย


ขณะที่ด้านการส่งออก จะพบว่า ในปี 2022 ที่ผ่านมาสหภาพ-ยุโรปม็การส่งออกสินค้ากลุ่มเซมิคอนตักเตอร์ 70,964 ล้านดอลลาร์ลหรัฐ ซึ่งสินค้าส่งออกหลัก ได้แก่ สินค้าวงจรรรวมที่ใช้ในทางอิเล็กทรอนิกส์ ประเภทตัวประมวลผลและตัวควบคุม (Micro IC พรือ Processors and Controllers) คิดเป็นร้อยละ 47 โดยส่งออกสินค้าดังกล่าวไปจึนสูงสุด คิดเป็นร้อยละ 31 ขณะที่ส่งออกสินค้าวงจรรวมที่ใช้ในทางอิเล็กทรอนิกส์อื่น ๆ (Analog IC) ร้อยละ 29 และส่งออกไปยังได้หวันสูงสุดร้อยละ 6 ทั้งนี้ ไอร์แลนด์และเยอรมนีเป็นประเทศที่ส่งออกสินค้าดังกล่าวสูงสุดเมื่อเทียบกับประเทศสมาชิกสพภาพยุโรปอื่น ๆ
การมีกฎหมาย EU Chips Act จะยิ่งช่วยเพิ่มความสามารถในการส่งออกของทั้งสองประเทศให้สามารถแข่งขันกับประเทศส่งออกหลักของโลกอย่างจีน ฮ่องกง ไต้หวัน และสิงคโปร์ได้

จะเห็นได้ว่า สินค้าเซมิคอนดักเตอร์ที่สหภาพยุโรปมีมูลค่าการนำเข้าและส่งออกสูง คือ สินค้าเซมิดอนดักเดอร์กลุ่ม Advanced IC หรือ IC ขั้นสูงประเภทตัวประมวลผลและตัวควบคุม (Nicro IC หรือ
Processors and Controllers) ที่มีความซับซ้อน ซึ่งนำมาผลิตสินค้าอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ ตลอดจนยานยนด์ไฟฟ้าที่กำลังเป็นที่ต้องการของผู้บริโภค


การผลิตเซมิคอนดักเตอร์รวมกันมากกว่าร้อยละ 70 ของกำลังการผลิตจากทั่วโลก และสหภาพยุโรปก็ต้องพึ่งพาซัพพลายเอออร์ เซมิคอนดักเตอร์จากภูมิภาคเอเชียเช่นกัน ดังนั้น สพภาพยุโรปจึงออกกฎหมาย EU Chips Act เพื่อการลงทุนจากบริษัทต่างชาติ กระตุ้นระบนิเวตในสหภาพยุโรป เพิ่มขีดความสามารถในการผลิต การบรรจุภัณฑ์ขั้นสูง การทดสอบ และการประกอบ รวมถึงสร้างขีดความสามารถทางเทดโนโลยีและนวัตกรรมโดยถ่ายโอนความรู้จากงานวิจัยและนวัดกรรมไปสู่การผลิตจริงในภาคอุตลาหกรรม รวมถึงลดการพึ่งพาการนําเข้าสินค้าเซมิคอนดักเตอร์จากประเทศในภูมิภาคเอเชียเพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้แก่อุตลาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ของสหภาพยุโรป อีกทั้งยังช่วยลดความเสี่ยงในการขาดแคลนเซมิคอนดักเตอร์สำหรับการผลิตสินค้าต่าง ๆ ของสหภาพยุโรปอีกด้วย

นอกจากนี้ กฎหมาย EU Chips Act ไม่เพียงแต่ส่งผลกระทบเชิงบวกต่ออุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ แต่ยังส่งผลกระทบต่ออุตลาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องในสหภาพยุโรปด้วย ไม่ว่าจะเป็นอุดสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หรืออุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า เนื่องจากกฎหมาย EU Chips Act สนับสนุนให้เกิดการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ในประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป ผู้ประกอบการในอุตลาหกรรมเกี่ยวเนื่องจึงมึต้นทุนโลจิสติกส์และระยะเวลาการรอสินค้า (Lead Times) ที่ลดลง ทำไห้สามารถผลิตและจำหน่ายสินค้าได้มากขึ้น ขณะเดียวกัน เมื่อสหภาพยุโรปลดการพึ่งพาซัพพลายเออร์เซมิคอนดักเตอร์ในเอเชีย ผู้ประกอบการเซมิคอนดักเตอร์สัญชาติเอเซียอาจจะได้รับผลกระทบเชิงลบจากคำสั่งซื้อที่ลดลง

อย่างไรก็ตาม งบประมาณของกฎหมาย EU Chips Act นั้น น้อยกว่างบประมาณสนับสนุนการเซมิคอนดักเตอร์ของประเทศอื่น ๆ ซึ่งการสนับสนุนการลงทุนที่ไม่มากพออาจทำให้ผู้ประกอบการเลือกที่จะไปลงทุนในประเทศที่มีระบบนิเวศการผลิตเซมิคอนดักเตอร์อยู่แล้วอย่างประเทศในเอเชียและสหรัฐฯ แทน

ผลกระทบจากกฎหมาย EU Chips Act ต่ออุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์ไทย

หากสหภาพยุโรปกลายเป็นผู้นำด้านการผลิตเซมิคอนดักเตอร์ จะส่งผลให้โครงสร้างของห่วงโซ่การผลิตในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งผู้ผลิตในภูมิภาคเอเชียอาจย้ายฐานการผลิตไปสหภาพยุโรป และไทยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานทั้งในกระบวนการประกอบ การทดสอบ ตลอดจนเป็นฐานการผลิตลินด้าปลายน้ำที่ต้องพึ่งพาเซมิคอนตักเตอร์ของภูมิภาคเอเชีย รวมไปจนถึงผู้ประกอบการในอุดสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง เช่น อุดสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ อุตลาหกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ อุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า เป็นต้น อาจได้รับผลกระทบจากการย้ายฐานการผลิตดังกล่าว

นอกจากนี้ หากผู้ผลิดในภูมิภาคเอเชียเลือกที่จะขยายโรงงานผลิตเซมิคอนดักเตอร์ในภูมิภาดอาจทำให้ผู้ผลิตต้องแบ่งกำลังการผลิตจากภูมิภาดเอเชียไปยังโรงงานในภูมิภาคยุโรป รวมถึงโรงงานผลิตเซมิคอนดักเตอร์ในภูมิภาคยุโรปอาจเลือกใช้ซัพพลายเออร์ในสหภาพยุโรปแทนเพื่อลดต้นทุนในการผลิตและระยะเวลาในการรอสินค้า (Lead Times) อาจส่งผลให้ผู้ประกอบการไทยซึ่งอยู่ในกระบวนการประกอบและทดสอบเซมิคอนดักเตอร์ได้รับผลกระทบจากคำสั่งซื้อที่ลดลง


สรุป

อุตสาหกรรมในสหภาพยุโรปต้องเผชิญกับความท้าทายในการจัดหาเซมิคอนดักเตอร์เนื่องจากปัญหาการหยุดชะงักของห่วงโซ่อุปทาน จึงเป็นที่มาของกฎหมาย EU Chips Act ซึ่งมีเป้าหมายหลักเพื่อสร้างความยึดหยุ่นให้แก่ห่วงโซ่อุปทานและลดการพึ่งพาซัพพลายเออร์จากต่างประเทศ กฎหมาย EU Chips Act ที่มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2023 ที่ผ่านมานี้ จะทำให้ส่วนแบ่งการตลาดสินค้าเซมิคอนดักเตอร์ของสนภาพยุโรปเพิ่มเป็นร้อยละ 20 ในปี 2030

กฎหมาย EU Chips Act ประกอบไปด้วย 3 เสาหลัก (Pillars) ได้แก่ เลาหลักที่ 1 Chips for Europe Initiative จะสนับสนุนการสร้างขีดความสามารถทางเทดโนโลยีและนวัตกรรมของลหภาพยุโรป รวมถึงยังมีการจัดตั้งกองทุนชิป (Chips Fund) เพื่ออำนวยความสะดวกในการเข้าถึงการจัดหาเงินทุนและตราสารทุนอีกด้วย เสาหลักที่ 2 Securty of Supply จะเมันการดึงดูดการลงทุนและเพิ่มขึ้ลควานสานารถในการเลือ (Manuterบกับกัg) การบรรจุภัณฑ์ขั้นสูง (Advanced Packaging) การทดสอบ (Test) และการประกอบ (Assembly) และเลา หลักที่ 3 Monitoring and Crisis Response จะเสริมสร้างความร่วมมือในการติดตามและตอบสนองต่อภาวะวิกฤติในอุตลาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์

ทั้งนี้ การสร้างแระจูงใจทางการเพื่อสนับสนับสมุมการสร้างโรงานเชอินดักเดอร์มสหภาพยุโรปภายใต้กฎหมาย EU Chips Act อาจทำให้โครงสร้างของห่วงโซ่อุปทานเซมิคอนดักเตอร์เปลี่ยนแปลงไป เช่น ผู้ประกอบการเซมิคอนดักเตอร์รายใหญ่สัญชาติเอเชียอาจเลือกที่จะย้าธฐานภาพลิตหรือขยายโรงานผลิตเชมิงอนอักสอร์ไปยังสพภาพยุโรปมาตขึ้น ส่งผลให้ผู้ประกอบการไทยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการประกอบและทสอบเซมิคอนดักเตอร์ได้รับผลกระทบจากดั่งชื่อที่ลพละขอะโรมวานที่ทั้งอยู่ในภูมิภาพเลเซีย ดังนั้น ภาครัฐและผู้ประกอบการไทยจะต้องคอยติดตามกฎหมาย EU Chips Act อย่างใกล้ชิดเพื่อให้สามารถปรับตัวให้เท่าทันต่อกฎหมายดังกล่าว

บทความนี้จัดทำโดย

แผนกนโยบายและแผน ศูนย์ข้อมูลเชิงลึกอุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (E&E Intelligence Unit: EIU) สถาบันไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ (EEI)