ยอดจดทะเบียนใหม่ยานยนต์ไฟฟ้าทุกประเภท เดือนมิถุนายน 2567
ยอดจดทะเบียนใหม่ (ป้ายแดง) ยานยนต์ไฟฟ้าในเดือนมิถุนายน 2567 รถ BEV 7,990 คัน ลดลง 17.46% จากปีที่แล้ว รถ HEV 12,589 คัน เพิ่มขึ้น 68.01% และรถ PHEV 843 คัน ลดลง 21.58%
ยอดจดทะเบียนใหม่ (ป้ายแดง) ยานยนต์ไฟฟ้าในเดือนมิถุนายน 2567 รถ BEV 7,990 คัน ลดลง 17.46% จากปีที่แล้ว รถ HEV 12,589 คัน เพิ่มขึ้น 68.01% และรถ PHEV 843 คัน ลดลง 21.58%
โคบอทส์ คือ หุ่นยนต์ร่วมปฏิบัติงาน ถูกออกแบบขึ้นให้ทำหน้าที่ปฏิบัติงานร่วมกับมนุษย์ได้อย่างใกล้ชิดและปลอดภัยในภาคอุตสาหกรรม
Mitutoyo U-WAVE อุปกรณ์เสริมเครื่องมือวัด ไมโครมิเตอร์, เวอร์เนีย คาลิเปอร์, และไดอัลเกจ เข้ามาช่วยพัฒนาโรงงาน เพื่อก้าวสู่ Smart Factory ยกระดับการผลิตให้เหนือกว่าคู่แข่ง
‘พานาโซนิค’ ผ่าตัดองค์กร ตั้งบริษัทโฮลดิ้งครอบบริษัทในเครือ มีผลวันที่ 1 เมษายน 2021 ตั้งเป้าทำกำไรเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5%
หน่วยงานภาคการศึกษา คือ กระดุมเม็ดบนที่สร้าง “คนในวันนี้” สู่ “บุคลากรในวันหน้า” ซึ่งเป็นทรัพยากรสำคัญต่อองค์กร ประเทศ ไปจนถึงนานาชาติ
ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของไทย กรณีการตัดสิทธิ GSP ครั้งที่ 2 ของปี 2020 ของสหรัฐฯ เพิ่มเติม 231 รายการ มีผลบังคับใช้ในวันที่ 30 ธันวาคม 2020
พูดคุยแบบเจาะลึก กะเทาะความคิดของนายสุรพงศ์ ตั้งธราธร ผู้บริหารกลุ่มบริษัท แฟ็คทอรี่ แม๊กซ์ กับ การอยู่ร่วมกับวิกฤตโควิด-19 และฉากต่อไป
ระบบการจัดการข้อมูลการวัดที่มีประสิทธิภาพอย่างซอฟต์แวร์ MeasurLink® จาก Mitutoyo ถูกนำมาใช้เพื่อเฝ้าติดตาม ควบคุมกระบวนการวัดทางสถิติ จึงมั่นใจในการควบคุมคุณภาพได้อย่างแท้จริง
เทคโนโลยี V-LINE® ต่อยอดสู่ INFILT-V ผนวกเข้ากัน นำสู่การฉีดขึ้นรูป Biodegradable Plastic สำหรับการผลิตชิ้นงานเนื้อบาง ซับซ้อนสูง และต้องการความแม่นยำสูง
MELSENSOR เครื่องอ่านบาร์โค้ดขนาดกะทัดรัด ครอบคลุมการทำงานหลากหลาย ด้วยเซนเซอร์อัจฉริยะ สู่การใช้งานที่เรียบง่าย อ่านรหัสได้อย่างแม่นยำบนเงื่อนไขต่าง ๆ
เพราะโควิดกระทบทุกภาคส่วนและกินเวลายาวนานเกินกว่ามรสุมลูกใด A.I. Group เผยผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรม ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในกลุ่มลูกค้า และแนวโน้มในอนาคต
สุมิพล รุกคืบ ชูแนวคิด Zero Defect ลดของเสียให้เป็นศูนย์ ดันโรงงานให้มีระบบการผลิตที่ดี พร้อมกับการควบคุมคุณภาพได้ในตัวเองตลอดกระบวนการ
ความสามารถในการผลิต 'ชิ้นงานระดับไมครอน' น่าจะเป็นเป้าหมายเชิงศักยภาพที่อุตฯ ไทยควรพิจารณา สำรวจความเป็นไปได้ผ่านเครื่อง NSV 106AMS จาก YCM
สถาบันยานยนต์ เผยแพร่รายงานผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ต่ออุตสาหกรรมยานยนต์ทั่วโลก
Dynamic Capabilities หรือ ความสามารถเชิงพลวัต ว่าด้วยการปรับตัวขององค์กรให้เข้ากับความเปลี่ยนแปลง ด้วยหลักสำคัญ 3 ข้อ Sensing, Seizing, Transforming
เจาะลึก 2 เทคโนโลยี หัวใจของโรงงานที่มีศักยภาพในการแข่งขัน ซึ่ง Sumipol Corporation นำร่องส่งเสริมเพื่อไม่ให้ตกยุคกลายเป็นโรงงานที่โลกลืม
ความต้องการทั่วโลกที่เริ่มฟื้นตัวในเดือน พ.ค. ที่ผ่านมา ทำให้ซัมซุงมีรายได้ดีกว่าที่คาดการณ์ไว้ โดยเฉพาะชิปหน่วยความจำจากกลุ่ม Data Center
โซนี่ เผยธุรกิจที่ทำรายได้สูงสุดในช่วงไตรมาสที่ผ่านมาและจะเป็นดาวเด่นในปี 2020 คือ “ธุรกิจเกม” ตามด้วยธุรกิจบริการด้านการเงิน ในขณะที่ ธุรกิจอื่น ๆ เช่น ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ กลับมีรายได้ถดถอย
ในขณะที่ผู้ผลิตยานยนต์หลายรายประสบความยากลำบากจากสถานการณ์โควิด แต่โตโยต้ากลับทางสามารถทำกำไรได้ 700 ล้านดอลล์ในไตรมาสสอง
ฝุ่น PM 2.5 ในกรุงเทพฯ ซึ่งมีการจราจรหนาแน่น หากใช้ขนส่งสาธารณะ และเปลี่ยนมาใช้ยานยนต์ไฟฟ้า จะเป็นอีกทางเลือก
ก้าวแรกที่ผู้ผลิตสามารถเริ่มได้เลย และควรเริ่มในตอนนี้ คือ “Digitization” เพราะการระบาดของโควิดในครั้งนี้ อาจนำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมที่มากเกินกว่าการลดต้นทุนจะสามารถแก้ปัญหาได้
ภาคการผลิตทั่วโลกกำลังเผชิญกับการขาดแคลนแรงงานที่มีทักษะ รวมถึงบทบาทในระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์ และการผลิตขั้นสูง บริษัทในอุตสาหกรรมระบบอัตโนมัติจึงจัดตั้งโปรแกรมพัฒนาอาชีพที่มีความสำคัญในการแก้ไขความท้าทายเหล่านี้
บริษัท เพรสซิชั่น ทูลลิ่ง เซอร์วิส จำกัด (PTSC) ผู้นำเข้าและจัดจำหน่ายเครื่องมืออุตสาหกรรมชั้นนำ ได้ปรับตัวอย่างไรเพื่อรับมือกับสถานการณ์นี้? เราได้พูดคุยกับ คุณรังสิมันต์ สมพรนิมิตกุล กรรมการผู้จัดการ เพื่อไขข้อข้องใจ